ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แตงไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Taxobox
{{เก็บกวาด}}
|name = Muskmelon
{{สั้นมาก}}
|image = muskmelon.jpg
{{ขาดกล่องข้อมูล}}
|regnum = [[Plant]]ae
=='''แตงไทย'''==
|unranked_divisio = [[Angiosperms]]
|unranked_classis = [[Eudicots]]
|unranked_ordo = [[Rosids]]
|ordo = [[Cucurbitales]]
|familia = [[Cucurbitaceae]]
|genus = ''[[Cucumis]]''
|species = '''''C. melo'''''
|binomial = ''Cucumis melo''
|binomial_authority = [[Carolus Linnaeus|L.]]
|}}


'''แตงไทย''' ({{lang-en|Muskmelon}};{{ชื่อวิทยาศาสตร์|Cucumis melo}}Linn) อยู่ในวงศ์ CUCURBITACEAE ทางภาคเหนือเรียก แตงลายหรือมะแตงสุก ภาคอีสานเรียก แตงจิงหรือแตงกิง ภาษาเขมรเรีบกซกเซรา ภาษากะเหรี่ยงเรียก ดี มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้ตั้งแต่เชิงเขาหิมาลัยไปถึงแหลมโคโมริน <ref name="แตงไทย">นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน์. แตงไทย ใน ผลไม้ 111 ชนิด: คุณค่าอาหารและการกิน. กทม. แสงแดด. 2550 หน้า 81</ref> รวมทั้งพันธุ์ที่ผิวเรียบ เช่น honeydew crenshaw และ casaba และพันธุ์ที่ผิวไม่เรียบ เช่น [[แคนตาลูป]] [[แตงเปอร์เซีย]] และ Christmas melon [[แตงกวาอเมริกัน]] จัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับแตงไทย แม้ว่ารูปร่างและรสชาติจะใกล้เคียงกับ[[แตงกวา]]
[[ไฟล์:26 20080430113236..jpg|thumb|แตงไทย]]


แตงไทยป็นพืชล้มลุก ลำต้นเป็นเถาเลื้อย มีขนอ่อน ปกคลุมตลอดทั้งลำต้นและใบ ใบเป็นใบเดี่ยวขนาดใหญ่ ขอบใบหยัก ก้านใบยาว ดอกสีเหลือง มีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ ผลมีขนาดค่อนข้างใหญ่ รูปร่างกลมยาว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางผล 12-15 ซม. ยาว 20-25 ซม. ผลอ่อนสีเขียวและมีลายสีขาวพาดยาว เมื่อผลแก่เปลือกเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ผิวเรียบเป็นมันเนื้อในผลสีเหลืองอ่อนอมเขียว กลิ่นหอม มีเมล็ดรูปแบนรี สีครีมจำนวนมาก แตงไทยให้ผลผลิตในช่วงหน้สร้อน สามารถปลูกได้ทุกภาคทั่วประเทศไทย
'''แตงไทย''' ทางภาคเหนือเรียก แตงลายหรือมะแตงสุก ภาคอีสานเรียก แตงจิงหรือแตงกิง มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมอยู่แถบภาคใต้ของทวีปแอฟริกา
==การใช้ประโยชน์==

ผลอ่อนของแตงไทยนำมากินเป็นผักสดจิ้มน้ำพริกหรือนำไปดอง ผลสุกมีรสจิดหรืออมหวานเล็กน้อย เนื้อซุย ชุ่มน้ำ กลิ่นหอม นิยมกินสดหรือทำของหวาน เช่น น้ำกะทิแตงไทย และทำน้ำปั่น ทำเป็นผลไม้แห้งได้ บางพันธุ์ปลูกเพื่อนำเมล็ดไปสกัดน้ำมัน บางชนิดปลูกเพื่อต้องการนำกลิ่นหอมไปใช้ประโยชน์<ref>{{cite book |authorlink= |author=National Research Council |editor= |others= |title=Lost Crops of Africa: Volume III: Fruits |url=http://books.nap.edu/openbook.php?record_id=11879 |accessdate=2008-07-17 |edition= |series=Lost Crops of Africa |volume=3 |date=2008-01-25 |publisher=National Academies Press |location= |isbn=978-0-309-10596-5 |oclc= |doi= |id= |pages= |chapter=Melon |chapterurl=http://books.nap.edu/openbook.php?record_id=11879&page=135 |quote= |ref= |origyear= }}</ref>
'''ชื่อสามัญ :''' Muskmelon

'''ชื่อวิทยาศาสตร์ :''' Cucumis melo Linn

'''ชื่อวงศ์ :''' CUCURBITACEAE

'''แตงไทย''' เป็นพืชล้มลุก ลำต้นเป็นเถาเลื้อย มีขนอ่อน ปกคลุมตลอดทั้งลำต้นและใบ ใบเป็นใบเดี่ยวขนาดใหญ่ ขอบใบหยัก ก้านใบยาว ดอกสีเหลือง มีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ ผลมีขนาดค่อนข้างใหญ่ รูปร่างกลมยาว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางผล 12-15 ซม. ยาว 20-25 ซม. ผลอ่อนสีเขียวและมีลายสีขาวพาดยาว เมื่อผลแก่เปลือกเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ผิวเรียบเป็นมันเนื้อในผลสีเหลืองอ่อนอมเขียว กลิ่นหอม มีเมล็ดรูปแบนรี สีครีมจำนวนมาก แตงไทยให้ผลผลิตในช่วงหน้สร้อน สามารถปลูกได้ทุกภาคทั่วประเทศไทย

'''ผลอ่อนของแตงไทย''' นำมากินเป็นผักสดจิ้มน้ำพริกหรือนำไปดอง ผลสุกมีรสจิดหรืออมหวานเล็กน้อย เนื้อซุย ชุ่มน้ำ กลิ่นหอมคือลักษณะเด่นของแตงไทย นิยมกินสดหรือนำไปทำของหวาน เช่น น้ำกะทิแตงไทย และทำน้ำปั่น

[[ไฟล์:002.jpg|thumb|แตงไทย]]

== สรรพคุณ ==
'''แตงไทย''' มีคาร์โบไฮเดรด แคลเซียม ฟอสฟอรัส วิตามินเอ และวิตามินซี

'''เนื้อ''' มีฤทธิ์เย็น ช่วยดับกระหาย แก้เลือดกำเดาไทล

'''ดอกอ่อนตากแห้ง''' ต้มดื่มช่วยให้อาเจียน แก้โรคดีซ่าน หรือบดเป็นผงพ่นแก้แผลในจมูก

'''เมล็ดแก่''' ช่วยในการขับปัสสาวะ ช่วยย่อยอาหาร แก้ไอ

'''ราก''' ต้มดื่มช่วยระบายท้อง


แตงไทยมีคาร์โบไฮเดรด แคลเซียม ฟอสฟอรัส วิตามินเอ และวิตามินซี<ref name="cantaloupeND">[http://nutritiondata.self.com/facts/fruits-and-fruit-juices/1954/2 Nutrition Facts for melons, cantaloupe]</ref> เนื้อมีฤทธิ์เย็น ช่วยดับกระหาย แก้เลือดกำเดาไทล ดอกอ่อนตากแห้งต้มดื่มช่วยให้อาเจียน แก้โรคดีซ่าน หรือบดเป็นผงพ่นแก้แผลในจมูก เมล็ดแก่ช่วยในการขับปัสสาวะ ช่วยย่อยอาหาร แก้ไอ รากต้มดื่มช่วยระบายท้อง<ref>[http://www.doctor.or.th/node/3941 ประโยชน์ด้านอื่นๆ] </ref>
==รวมภาพ==
<gallery>
Image:03-05-JPN202.jpg|แตงไทยในญี่ปุ่นเป็นของขวัญที่มีราคาแพง
Image:Korea-Chamoe-Oriental melon-01.jpg|''Chamoe'' ([[hangul|참외]], แตงไทยพันธุ์makuwa) ขายใน[[โซล]] [[เกาหลีใต้]]
File:Squeredmelon inside001.jpg|''แตงไทยสี่เหลี่ยม'' ปลูกในญี่ปุ่น เรียกว่า "Kakumero"
Image:Armenian_cucumbers.jpeg| [[แตงกวาอเมริกัน]]จัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับแตงไทย
</gallery>
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

ถิ่นกำเนิดดั้งเดิมอยู่แถบภาคใต้ของทวีปแอฟริกา<ref>[http://www.doctor.or.th/node/3941 แตงไทย]</ref>
สรรพคุณแตงไทย<ref>[http://www.doctor.or.th/node/3941]ประโยชน์ด้านอื่นๆ</ref>

<references />
<references />
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{Commons|Cucumis melo}}
* [http://www.hort.purdue.edu/newcrop/nexus/Cucumis_melo_nex.html Cucumis melo L.] – Purdue University, Center for New Crops & Plant Products.
* [http://www.plantnames.unimelb.edu.au/Sorting/Cucumis.html Sorting Cucumis names] – Multilingual multiscript plant name database
* [http://www.foodsubs.com/Fruitmel.html Cook's Thesaurus: Melons] – A great online list of names and pictures.
* [http://aggie-horticulture.tamu.edu/archives/parsons/publications/vegetabletravelers/muskmelon.html] Muskmelons Originated in Persia
{{เรียงลำดับ|ตแงไทย}}
{{เรียงลำดับ|ตแงไทย}}
[[หมวดหมู่:ผลไม้]]
{{โครง}}



[[หมวดหมู่:ผลไม้]]
[[ar:بطيخ]]
[[gn:Merõ]]
[[az:Yemiş]]
[[zh-min-nan:Me-lóng]]
[[be-x-old:Дыня]]
[[bo:ཀུབ་མངར།]]
[[bg:Пъпеш]]
[[ca:Melonera]]
[[ch:Melon]]
[[da:Melon]]
[[de:Zuckermelone]]
[[el:Πεπόνι]]
[[en:Cucumis melo]]
[[es:Cucumis melo]]
[[eo:Melono (frukto)]]
[[eu:Meloi]]
[[fr:Melon (plante)]]
[[gl:Melón (froita)]]
[[ko:멜론]]
[[hi:ककड़ी]]
[[hsb:Dynja]]
[[id:Melon]]
[[it:Cucumis melo]]
[[he:מלון (פרי)]]
[[kk:Қауын]]
[[ht:Melon frans]]
[[la:Cucumis melo]]
[[lv:Melone]]
[[lt:Sėjamasis melionas]]
[[hu:Sárgadinnye]]
[[nah:Melōn]]
[[nl:Meloen (vrucht)]]
[[ja:メロン]]
[[no:Melon]]
[[pl:Ogórek melon]]
[[pt:Melão]]
[[kaa:Qawın]]
[[ro:Pepene galben]]
[[qu:Unukhachun]]
[[ru:Дыня]]
[[sc:Melone]]
[[scn:Muluni di fedda]]
[[simple:Melon]]
[[sr:Диња]]
[[sh:Dinja]]
[[fi:Meloni]]
[[sv:Melon]]
[[tg:Харбуза]]
[[tr:Kavun]]
[[tk:Gawun]]
[[uk:Диня]]
[[ur:خربوزہ]]
[[vi:Dưa bở]]
[[yi:מעלאן]]
[[zh:厚皮甜瓜]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:21, 11 มกราคม 2555

Muskmelon
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
ไม่ได้จัดลำดับ: Angiosperms
ไม่ได้จัดลำดับ: Eudicots
ไม่ได้จัดลำดับ: Rosids
อันดับ: Cucurbitales
วงศ์: Cucurbitaceae
สกุล: Cucumis
สปีชีส์: C.  melo
ชื่อทวินาม
Cucumis melo
L.

แตงไทย (อังกฤษ: Muskmelon;ชื่อวิทยาศาสตร์: Cucumis meloLinn) อยู่ในวงศ์ CUCURBITACEAE ทางภาคเหนือเรียก แตงลายหรือมะแตงสุก ภาคอีสานเรียก แตงจิงหรือแตงกิง ภาษาเขมรเรีบกซกเซรา ภาษากะเหรี่ยงเรียก ดี มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้ตั้งแต่เชิงเขาหิมาลัยไปถึงแหลมโคโมริน [1] รวมทั้งพันธุ์ที่ผิวเรียบ เช่น honeydew crenshaw และ casaba และพันธุ์ที่ผิวไม่เรียบ เช่น แคนตาลูป แตงเปอร์เซีย และ Christmas melon แตงกวาอเมริกัน จัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับแตงไทย แม้ว่ารูปร่างและรสชาติจะใกล้เคียงกับแตงกวา

แตงไทยป็นพืชล้มลุก ลำต้นเป็นเถาเลื้อย มีขนอ่อน ปกคลุมตลอดทั้งลำต้นและใบ ใบเป็นใบเดี่ยวขนาดใหญ่ ขอบใบหยัก ก้านใบยาว ดอกสีเหลือง มีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ ผลมีขนาดค่อนข้างใหญ่ รูปร่างกลมยาว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางผล 12-15 ซม. ยาว 20-25 ซม. ผลอ่อนสีเขียวและมีลายสีขาวพาดยาว เมื่อผลแก่เปลือกเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ผิวเรียบเป็นมันเนื้อในผลสีเหลืองอ่อนอมเขียว กลิ่นหอม มีเมล็ดรูปแบนรี สีครีมจำนวนมาก แตงไทยให้ผลผลิตในช่วงหน้สร้อน สามารถปลูกได้ทุกภาคทั่วประเทศไทย

การใช้ประโยชน์

ผลอ่อนของแตงไทยนำมากินเป็นผักสดจิ้มน้ำพริกหรือนำไปดอง ผลสุกมีรสจิดหรืออมหวานเล็กน้อย เนื้อซุย ชุ่มน้ำ กลิ่นหอม นิยมกินสดหรือทำของหวาน เช่น น้ำกะทิแตงไทย และทำน้ำปั่น ทำเป็นผลไม้แห้งได้ บางพันธุ์ปลูกเพื่อนำเมล็ดไปสกัดน้ำมัน บางชนิดปลูกเพื่อต้องการนำกลิ่นหอมไปใช้ประโยชน์[2]

แตงไทยมีคาร์โบไฮเดรด แคลเซียม ฟอสฟอรัส วิตามินเอ และวิตามินซี[3] เนื้อมีฤทธิ์เย็น ช่วยดับกระหาย แก้เลือดกำเดาไทล ดอกอ่อนตากแห้งต้มดื่มช่วยให้อาเจียน แก้โรคดีซ่าน หรือบดเป็นผงพ่นแก้แผลในจมูก เมล็ดแก่ช่วยในการขับปัสสาวะ ช่วยย่อยอาหาร แก้ไอ รากต้มดื่มช่วยระบายท้อง[4]

รวมภาพ

อ้างอิง

  1. นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน์. แตงไทย ใน ผลไม้ 111 ชนิด: คุณค่าอาหารและการกิน. กทม. แสงแดด. 2550 หน้า 81
  2. National Research Council (2008-01-25). "Melon". Lost Crops of Africa: Volume III: Fruits. Lost Crops of Africa. Vol. 3. National Academies Press. ISBN 978-0-309-10596-5. สืบค้นเมื่อ 2008-07-17. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |chapterurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|chapter-url=) (help)
  3. Nutrition Facts for melons, cantaloupe
  4. ประโยชน์ด้านอื่นๆ

แหล่งข้อมูลอื่น