ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รีวโนซูเกะ อากูตางาวะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Antelope (คุย | ส่วนร่วม)
Antelope (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ริวโนซุเกะ อะคุตะกะวะ" → "{{pn}}" ด้วยสจห.
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Kikuchi Kan,Akutagawa Ryunosuke,and so on.jpg|200px|thumb|ภาพริวโนะซึเกะ คนที่สองจากซ้ายมือ]]
[[ไฟล์:Kikuchi Kan,Akutagawa Ryunosuke,and so on.jpg|200px|thumb|ภาพริวโนะซึเกะ คนที่สองจากซ้ายมือ]]


'''ริวโนซุเกะ อะคุตะกะวะ''' ({{ญี่ปุ่น|芥川 龍之介||Akutagawa Ryūnosuke|อะคุทะงะวะ ริวโนะสุเกะ}}) นักเขียนและกวี[[ชาวญี่ปุ่น]] เกิดที่เมือง[[โตเกียว]]เมื่อปี พ.ศ. 2435 (ค.ศ. 1892) และฆ่าตัวตายด้วยการกิน[[ยา]]เกินขนาดเมื่อปี พ.ศ. 2470 (ค.ศ 1927) ขณะมีอายุสามสิบห้าปี ถึงแม้จะอายุสั้น ทั้งมีโรคประจำตัวหลายอย่างรวมถึงโรคประสาทเปลี้ย แต่ริวโนสุเกะ อะคุตะกะวาก็สร้างผลงานไว้มากมายประมาณ 140 เรื่อง ส่วนใหญ่เป็น[[เรื่องสั้น]]และ[[นิยายขนาดสั้น]] (รวมถึงเรื่อง ราโชมอน (Rashomon) ค.ศ. 1915 อันมีชื่อเสียงโด่งดัง ต่อมานำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ชื่อก้องโดย[[อากิระ คุโรซาวา]]) แต่ไม่มีผลงานที่เป็น[[นวนิยาย]]เรื่องยาว มารดาของริวโนสุเกะวิกลจริตและเสียชีวิตขณะที่เขายังเล็ก ลุงผู้เป็นเจ้าของนามสกุลที่เขาใช้รับเขาไปเลี้ยง เขาเข้าศึกษาด้านวรรณคดีที่[[มหาวิทยาลัยโตเกียว อิมพีเรียล]] และจบการศึกษาในปี 1916 เขาแต่งงานสองปีหลังจากนั้น มีบุตรชายสามคนและทำงานเป็นครูสอน[[ภาษาอังกฤษ]] ต่อมาได้เดินทางไปประเทศ[[ประเทศจีน|จีน]]และ[[รัสเซีย]] กล่าวกันว่างานเขียนของริวโนสุเกะ อะคุตะกะวะ เป็นการนำประเพณีและตำนานของเอเชียมาตีความใหม่ได้อย่างมีชั้นเชิงยอดเยี่ยม โดดเด่นด้วยการผสมผสานอย่างล้ำลึกกับความคิดตะวันตกและเทคนิคทาง[[วรรณกรรม]]
'''{{pn}}''' ({{ญี่ปุ่น|芥川 龍之介||Akutagawa Ryūnosuke|อะคุทะงะวะ ริวโนะสุเกะ}}) นักเขียนและกวี[[ชาวญี่ปุ่น]] เกิดที่เมือง[[โตเกียว]]เมื่อปี พ.ศ. 2435 (ค.ศ. 1892) และฆ่าตัวตายด้วยการกิน[[ยา]]เกินขนาดเมื่อปี พ.ศ. 2470 (ค.ศ 1927) ขณะมีอายุสามสิบห้าปี ถึงแม้จะอายุสั้น ทั้งมีโรคประจำตัวหลายอย่างรวมถึงโรคประสาทเปลี้ย แต่ริวโนสุเกะ อะคุตะกะวาก็สร้างผลงานไว้มากมายประมาณ 140 เรื่อง ส่วนใหญ่เป็น[[เรื่องสั้น]]และ[[นิยายขนาดสั้น]] (รวมถึงเรื่อง ราโชมอน (Rashomon) ค.ศ. 1915 อันมีชื่อเสียงโด่งดัง ต่อมานำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ชื่อก้องโดย[[อากิระ คุโรซาวา]]) แต่ไม่มีผลงานที่เป็น[[นวนิยาย]]เรื่องยาว มารดาของริวโนสุเกะวิกลจริตและเสียชีวิตขณะที่เขายังเล็ก ลุงผู้เป็นเจ้าของนามสกุลที่เขาใช้รับเขาไปเลี้ยง เขาเข้าศึกษาด้านวรรณคดีที่[[มหาวิทยาลัยโตเกียว อิมพีเรียล]] และจบการศึกษาในปี 1916 เขาแต่งงานสองปีหลังจากนั้น มีบุตรชายสามคนและทำงานเป็นครูสอน[[ภาษาอังกฤษ]] ต่อมาได้เดินทางไปประเทศ[[ประเทศจีน|จีน]]และ[[รัสเซีย]] กล่าวกันว่างานเขียนของริวโนสุเกะ อะคุตะกะวะ เป็นการนำประเพณีและตำนานของเอเชียมาตีความใหม่ได้อย่างมีชั้นเชิงยอดเยี่ยม โดดเด่นด้วยการผสมผสานอย่างล้ำลึกกับความคิดตะวันตกและเทคนิคทาง[[วรรณกรรม]]


คำคม : ''Human life is more hell than the hell itself (ชีวิตมนุษย์มันนรกยิ่งกว่านรกเองเสียอีก)''
คำคม : ''Human life is more hell than the hell itself (ชีวิตมนุษย์มันนรกยิ่งกว่านรกเองเสียอีก)''

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:04, 7 มกราคม 2555

ภาพริวโนะซึเกะ คนที่สองจากซ้ายมือ

[ต้องการเลขหน้า] (ญี่ปุ่น: 芥川 龍之介ทับศัพท์: Akutagawa Ryūnosuke; อะคุทะงะวะ ริวโนะสุเกะ) นักเขียนและกวีชาวญี่ปุ่น เกิดที่เมืองโตเกียวเมื่อปี พ.ศ. 2435 (ค.ศ. 1892) และฆ่าตัวตายด้วยการกินยาเกินขนาดเมื่อปี พ.ศ. 2470 (ค.ศ 1927) ขณะมีอายุสามสิบห้าปี ถึงแม้จะอายุสั้น ทั้งมีโรคประจำตัวหลายอย่างรวมถึงโรคประสาทเปลี้ย แต่ริวโนสุเกะ อะคุตะกะวาก็สร้างผลงานไว้มากมายประมาณ 140 เรื่อง ส่วนใหญ่เป็นเรื่องสั้นและนิยายขนาดสั้น (รวมถึงเรื่อง ราโชมอน (Rashomon) ค.ศ. 1915 อันมีชื่อเสียงโด่งดัง ต่อมานำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ชื่อก้องโดยอากิระ คุโรซาวา) แต่ไม่มีผลงานที่เป็นนวนิยายเรื่องยาว มารดาของริวโนสุเกะวิกลจริตและเสียชีวิตขณะที่เขายังเล็ก ลุงผู้เป็นเจ้าของนามสกุลที่เขาใช้รับเขาไปเลี้ยง เขาเข้าศึกษาด้านวรรณคดีที่มหาวิทยาลัยโตเกียว อิมพีเรียล และจบการศึกษาในปี 1916 เขาแต่งงานสองปีหลังจากนั้น มีบุตรชายสามคนและทำงานเป็นครูสอนภาษาอังกฤษ ต่อมาได้เดินทางไปประเทศจีนและรัสเซีย กล่าวกันว่างานเขียนของริวโนสุเกะ อะคุตะกะวะ เป็นการนำประเพณีและตำนานของเอเชียมาตีความใหม่ได้อย่างมีชั้นเชิงยอดเยี่ยม โดดเด่นด้วยการผสมผสานอย่างล้ำลึกกับความคิดตะวันตกและเทคนิคทางวรรณกรรม

คำคม : Human life is more hell than the hell itself (ชีวิตมนุษย์มันนรกยิ่งกว่านรกเองเสียอีก)

ผลงาน

  • 老年 (โรเน็น) ค.ศ. 1914
  • 羅生門 (ราโชมอน) (ประตูผี) - Rashōmon ค.ศ. 1915
  • 鼻 (ฮานะ) - The Nose ค.ศ. 1916
  • 芋粥 (อิโมะกายุ) - Yam Gruel ค.ศ. 1916
  • 煙草と悪魔 (โทบะโกะโทะอาคุมะ) ค.ศ. 1916
  • 戯作三昧 (เกสะคุซันมาอิ) ค.ศ. 1917
  • 蜘蛛の糸 (คุโมะโนะอิโตะ) - The Spider’s Thread ค.ศ. 1918
  • 地獄変 (จิโกะคุเฮ็น) - Hell Screen ค.ศ. 1918
  • 邪宗門 (จาชูมอน) ค.ศ. 1918
  • 魔術 (มาจุทซึ) ค.ศ. 1919
  • 南京の基督 (นันคินโนะคิริซุโตะ) - Christ in Nanking ค.ศ. 1920
  • 杜子春 (โทชิชุน) - Tu Tze-chun ค.ศ. 1920
  • アグニの神 (อะงุนิโนะคามิ) ค.ศ. 1920
  • 藪の中 (ยาบุโนนากะ) - In a Grove ค.ศ. 1921
  • トロッコ (โทโรคโคะ) ค.ศ. 1922
  • 玄鶴山房 (เกนคะคุซันโบ) ค.ศ. 1927
  • 侏儒の言葉 (ชูจูโนะโคโตบะ) ค.ศ. 1927
  • 文芸的な、あまりに文芸的な (บันเกเตะกินะ, อะมะรินิบันเกเตะกินะ) ค.ศ. 1927
  • 河童 (คัปปะ) - Kappa ค.ศ. 1927
  • 歯車 (ฮะงะรุมะ) - Cogwheel ค.ศ. 1927
  • 或る阿呆の一生 (อะรุอะโฮโนะอิโช) - A Fool's Life ค.ศ. 1927
  • 西方の人 (เซโฮโนะฮิโตะ) - The Man of the West ค.ศ. 1927

ผลงานที่แปลเป็นภาษาไทย