ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดศรีอุบลรัตนาราม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
''' วัดศรีอุบลรัตนาราม'''สร้างเมื่อปีเถาะ พ.ศ. 2398 ตรงกับ ร.ศ. 74 เป็นปีที่ 5 แห่งรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 4 แห่ง[[ราชวงศ์จักรี]] สถานที่ตั้งวัด เดิมเป็นสวนของท่านอุปฮาดโท (ต้นตระกูล ณ อุบล) มีศรัทธาบริจาคที่ดินประมาณ 25 ไร่ สำหรับสร้างวัดของสงฆ์[[ธรรมยุติกนิกาย]] โดยระหว่างการถวายที่ดินต่อหน้าพระเถระ ยกให้เป็นสมบัติใน[[พระพุทธศาสนา]]เพื่อเป็นที่ตั้งวัด ในยามราตรีของวันนั้น เกิดนิมิตประหลาดขึ้น คือมีแสงสว่างพวยพุ่งขึ้นเป็นสีเหลืองทองภายในบริเวณสวนนั้น จึงได้ถือนิมิตมงคลนี้ ตั้งชื่อวัดว่า '''"วัดศรีทอง"'''
''' วัดศรีอุบลรัตนาราม'''สร้างเมื่อปีเถาะ พ.ศ. 2398 ตรงกับ ร.ศ. 74 เป็นปีที่ 5 แห่งรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 4 แห่ง[[ราชวงศ์จักรี]] สถานที่ตั้งวัด เดิมเป็นสวนของท่านอุปฮาดโท (ต้นตระกูล ณ อุบล) มีศรัทธาบริจาคที่ดินประมาณ 25 ไร่ สำหรับสร้างวัดของสงฆ์[[ธรรมยุติกนิกาย]] โดยระหว่างการถวายที่ดินต่อหน้าพระเถระ ยกให้เป็นสมบัติใน[[พระพุทธศาสนา]]เพื่อเป็นที่ตั้งวัด ในยามราตรีของวันนั้น เกิดนิมิตประหลาดขึ้น คือมีแสงสว่างพวยพุ่งขึ้นเป็นสีเหลืองทองภายในบริเวณสวนนั้น จึงได้ถือนิมิตมงคลนี้ ตั้งชื่อวัดว่า '''"วัดศรีทอง"'''


ฝ่ายคณะสงฆ์มีท่านเทวธัมมี (ม้าว) ได้เข้ามาดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสรูปแรก เริ่มก่อสร้างกุฏิ วิหาร ศาลการเปรียญ เมื่อปี พ.ศ.2398 ตามประวัติท่านเทวธัมมี ได้ไปรับการศึกษาพระปริยัติธรรมที่กรุงเทพฯ ตั้งแต่เป็นสามเณร และได้เป้นสัทธิวิหาริกของ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เมื่อครั้งทรงผนวช จึงได้ถือลัทธิ[[ธรรมยุติกนิกาย]]สืบสายมาตั้งคณะธรรมยุติกนิกายที่วัดสุปัฏนารามวรวิหาร ซึ่งเป็นวัดธรรมยุติกนิกายแห่งแรกใน[[ภาคอีสาน]] โดยมีท่านพันธุโล (ดี) เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ดังนั้น ท่านเทวธัมมี จึงถือว่าเป็นพระเถระที่มีศักดิ์ใหญ่ เป็นที่เคารพยำเกรงของบรรดาเหล่าพระภิกษุสามเณร ข้าราชการ ตลอดจนประชาชนทั้งหลายในสมัยนั้น
ฝ่ายคณะสงฆ์มีท่านเทวธัมมี (ม้าว) ได้เข้ามาดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสรูปแรก เริ่มก่อสร้างกุฏิ วิหาร ศาลการเปรียญ เมื่อปี พ.ศ. 2398 ตามประวัติท่านเทวธัมมี ได้ไปรับการศึกษาพระปริยัติธรรมที่กรุงเทพฯ ตั้งแต่เป็นสามเณร และได้เป้นสัทธิวิหาริกของ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เมื่อครั้งทรงผนวช จึงได้ถือลัทธิ[[ธรรมยุติกนิกาย]]สืบสายมาตั้งคณะธรรมยุติกนิกายที่วัดสุปัฏนารามวรวิหาร ซึ่งเป็นวัดธรรมยุติกนิกายแห่งแรกใน[[ภาคอีสาน]] โดยมีท่านพันธุโล (ดี) เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ดังนั้น ท่านเทวธัมมี จึงถือว่าเป็นพระเถระที่มีศักดิ์ใหญ่ เป็นที่เคารพยำเกรงของบรรดาเหล่าพระภิกษุสามเณร ข้าราชการ ตลอดจนประชาชนทั้งหลายในสมัยนั้น


ต่อมาในปี พ.ศ.2511 [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช]] และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จมาประกอบพิธีฉลองสมโภชฝังลูกนิมิตร และยก[[ช่อฟ้า]]พระอุโบสถวัดศรีอุบลรัตนาราม จึงได้ทูลเกล้าถวายพระอุโบสถหลังนี้ ให้อยู่ในพระอุปถัมภ์ของ[[ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี|สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี]] และทรงขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต เปลี่ยนชื่อจากวัดศรีทองเป็น '''"วัดศรีอุบลรัตนาราม"''' ตามนามขององค์อุปถัมภ์
ต่อมาในปี พ.ศ. 2511 [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช]] และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จมาประกอบพิธีฉลองสมโภชฝังลูกนิมิตร และยก[[ช่อฟ้า]]พระอุโบสถวัดศรีอุบลรัตนาราม จึงได้ทูลเกล้าถวายพระอุโบสถหลังนี้ ให้อยู่ในพระอุปถัมภ์ของ[[ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี|สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี]] และทรงขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต เปลี่ยนชื่อจากวัดศรีทองเป็น '''"วัดศรีอุบลรัตนาราม"''' ตามนามขององค์อุปถัมภ์


วัดศรีอุบลรัตนาราม เคยเป็นที่บรรพชาอุปสมบทของพระเถระผู้ใหญ่ทั้งฝ่ายคันธุระและวิปัสนาธุระหลายรูป มีพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ สิริจันทเถระ, สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ติสสฺมหาเถระ), พระอาจารย์ทา โชติปาลเถระ, [[พระอาจารย์เสาร์ กันตสีโล]], [[พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต|พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต]] เป็นต้น
วัดศรีอุบลรัตนาราม เคยเป็นที่บรรพชาอุปสมบทของพระเถระผู้ใหญ่ทั้งฝ่ายคันธุระและวิปัสนาธุระหลายรูป มีพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ สิริจันทเถระ, สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ติสสฺมหาเถระ), พระอาจารย์ทา โชติปาลเถระ, [[พระอาจารย์เสาร์ กันตสีโล]], [[พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต|พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต]] เป็นต้น

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:37, 28 ธันวาคม 2554

ป้ายชื่อวัดศรีอุบลรัตนาราม ตำบลในเมือง อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี

วัดศรีอุบลรัตนาราม เดิมชื่อ วัดศรีทอง เป็นวัดธรรมยุติกนิกาย ตั้งอยู่ด้านทิศใต้ของศาลากลางจังหวัดอุบลราชธานี บนถนนอุปราช วัดนี้มีพระอุโบสถที่สร้างตามแบบพระอุโบสถวัดเบญจมบพิตร กรุงเทพมหานคร เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง คือ พระแก้วบุษราคัม

ประวัติ

วัดศรีอุบลรัตนารามสร้างเมื่อปีเถาะ พ.ศ. 2398 ตรงกับ ร.ศ. 74 เป็นปีที่ 5 แห่งรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี สถานที่ตั้งวัด เดิมเป็นสวนของท่านอุปฮาดโท (ต้นตระกูล ณ อุบล) มีศรัทธาบริจาคที่ดินประมาณ 25 ไร่ สำหรับสร้างวัดของสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย โดยระหว่างการถวายที่ดินต่อหน้าพระเถระ ยกให้เป็นสมบัติในพระพุทธศาสนาเพื่อเป็นที่ตั้งวัด ในยามราตรีของวันนั้น เกิดนิมิตประหลาดขึ้น คือมีแสงสว่างพวยพุ่งขึ้นเป็นสีเหลืองทองภายในบริเวณสวนนั้น จึงได้ถือนิมิตมงคลนี้ ตั้งชื่อวัดว่า "วัดศรีทอง"

ฝ่ายคณะสงฆ์มีท่านเทวธัมมี (ม้าว) ได้เข้ามาดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสรูปแรก เริ่มก่อสร้างกุฏิ วิหาร ศาลการเปรียญ เมื่อปี พ.ศ. 2398 ตามประวัติท่านเทวธัมมี ได้ไปรับการศึกษาพระปริยัติธรรมที่กรุงเทพฯ ตั้งแต่เป็นสามเณร และได้เป้นสัทธิวิหาริกของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อครั้งทรงผนวช จึงได้ถือลัทธิธรรมยุติกนิกายสืบสายมาตั้งคณะธรรมยุติกนิกายที่วัดสุปัฏนารามวรวิหาร ซึ่งเป็นวัดธรรมยุติกนิกายแห่งแรกในภาคอีสาน โดยมีท่านพันธุโล (ดี) เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ดังนั้น ท่านเทวธัมมี จึงถือว่าเป็นพระเถระที่มีศักดิ์ใหญ่ เป็นที่เคารพยำเกรงของบรรดาเหล่าพระภิกษุสามเณร ข้าราชการ ตลอดจนประชาชนทั้งหลายในสมัยนั้น

ต่อมาในปี พ.ศ. 2511 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จมาประกอบพิธีฉลองสมโภชฝังลูกนิมิตร และยกช่อฟ้าพระอุโบสถวัดศรีอุบลรัตนาราม จึงได้ทูลเกล้าถวายพระอุโบสถหลังนี้ ให้อยู่ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี และทรงขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต เปลี่ยนชื่อจากวัดศรีทองเป็น "วัดศรีอุบลรัตนาราม" ตามนามขององค์อุปถัมภ์

วัดศรีอุบลรัตนาราม เคยเป็นที่บรรพชาอุปสมบทของพระเถระผู้ใหญ่ทั้งฝ่ายคันธุระและวิปัสนาธุระหลายรูป มีพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ สิริจันทเถระ, สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (ติสสฺมหาเถระ), พระอาจารย์ทา โชติปาลเถระ, พระอาจารย์เสาร์ กันตสีโล, พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต เป็นต้น