ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซิมโฟนีหมายเลข 7 (เบทโฮเฟิน)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2T (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: ca, cs, de, es, eu, fi, fr, he, it, ja, ko, nl, pl, pt, ru, sl, sr, uk, zh
บรรทัด 34: บรรทัด 34:
[[หมวดหมู่:ผลงานของ ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟิน]]
[[หมวดหมู่:ผลงานของ ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟิน]]


[[ca:Simfonia núm. 7 (Beethoven)]]
[[cs:Symfonie č. 7 (Beethoven)]]
[[de:7. Sinfonie (Beethoven)]]
[[en:Symphony No. 7 (Beethoven)]]
[[en:Symphony No. 7 (Beethoven)]]
[[es:Sinfonía n.º 7 (Beethoven)]]
[[eu:Zazpigarren Sinfonia (Beethoven)]]
[[fi:Sinfonia nro 7 (Beethoven)]]
[[fr:Symphonie nº 7 de Beethoven]]
[[he:הסימפוניה השביעית של בטהובן]]
[[it:Sinfonia n. 7 (Beethoven)]]
[[ja:交響曲第7番 (ベートーヴェン)]]
[[ko:교향곡 7번 (베토벤)]]
[[nl:Symfonie nr. 7 (Beethoven)]]
[[pl:VII symfonia Beethovena]]
[[pt:Sinfonia n.º 7 (Beethoven)]]
[[ru:Симфония № 7 (Бетховен)]]
[[sl:Simfonija št. 7 (Beethoven)]]
[[sr:Симфонија бр. 7 (Бетовен)]]
[[uk:Симфонія № 7 (Бетховен)]]
[[zh:第7號交響曲 (貝多芬)]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:53, 17 ธันวาคม 2554

ซิมโฟนีหมายเลข 7 ในบันไดเสียง เอ เมเจอร์ (อังกฤษ: Symphony No. 7 in A major, Op. 92) ผลงานประพันธ์ของลุดวิจ ฟาน เบโทเฟินในปี ค.ศ. 1811 แล้วเสร็จเมื่อปี ค.ศ. 1812

เบโทเฟนประพันธ์ซิมโฟนีบทนี้ในขณะสุขภาพไม่ดี อยู่ระหว่างการพักผ่อนเพื่อฟื้นฟูร่างกายที่สปาในเมืองทีปลีซ บริเวณชายแดนระหว่างแคว้นโบฮีเมียกับแคว้นซัคเซิน ในขณะนั้นยุโรปอยู่ท่ามกลางสงคราม โดยฝรั่งเศสกำลังยึดครองกรุงเวียนนาอยู่

ซิมโฟนีบทนี้มีความยาวประมาณ 37 นาที แบ่งออกเป็น 4 มูฟเมนต์

  • I. Poco sostenuto – Vivace
  • II. Allegretto
  • III. Presto – Assai meno presto (trio)
  • IV. Allegro con brio

เบโทเฟนเป็นผู้อำนวยเพลงรอบปฐมทัศน์ด้วยตัวเองที่เวียนนา เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม ค.ศ. 1813 ในการแสดงรอบพิเศษเพื่อการกุศล หารายได้ช่วยเหลือทหารผ่านศึกที่ได้รับบาดเจ็บจากการรบที่ฮานู แคว้นเฮสส์ ระหว่างแนวร่วมราชอาณาจักรบาวาเรียและจักรวรรดิออสเตรีย กับจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 1 นำโดยนโปเลียน โบนาปาร์ต

หลังการแสดงครั้งนั้น ผลงานได้รับคำชื่นชมว่าเป็นหนึ่งในผลงานที่ดีที่สุดของเบโทเฟน [1] โดยเฉพาะมูฟเมนต์ที่สอง "Allegretto" ที่มีจังหวะเร่งเร้า มีผู้เปรียบเปรยว่าเป็นเหมือนการประกาศชัยชนะของดยุกแห่งเวลลิงตันที่มีต่อโจเซฟ โบนาปาร์ต (พี่ชายของนโปเลียน) [2] และนิยมนำกลับมาแสดงซ้ำอยู่เสมอ [3]

อ้างอิง

  1. สุรพงษ์ บุนนาคดนตรีแห่งชีวิต. กรุงเทพ : สารคดี, พิมพ์ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2549. 655 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-484-175-3
  2. http://www.npr.org/templates/story/story.php?storyId=5481664

แหล่งข้อมูลอื่น