ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แพทยศาสตร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9: บรรทัด 9:


==คณะแพทยศาสตร์ในประเทศไทย ==
==คณะแพทยศาสตร์ในประเทศไทย ==
การเรียนการสอนทางแพทยศาสตร์นั้น เกิดขึ้นครั้งแรกที่ [[โรงเรียนแพทยากร]] ซึ่ง[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]มีพระบรมราชานุญาตให้จัดตั้งขึ้น ณ [[โรงศิริราชพยาบาล]] ซึ่งก็คือ [[คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล]] [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] ในปัจจุบัน ต่อมา ในรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล]] ได้จัดตั้งคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 2 ขึ้น เพื่อผลิตแพทย์ให้เพียงพอที่จะช่วยเหลือประชาชน นั่นคือ [[คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] และได้จัดตั้งคณะแพทยศาสตร์ขึ้นในส่วนภูมิภาคของประเทศคณะแรก ได้แก่ [[คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]] เป็นคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 3 จากนั้น ได้จัดตั้ง [[คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล]] ซึ่งเป็นคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 4 ของประเทศ และเป็นคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 2 ของมหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบัน มี[[สถาบันอุดมศึกษา]]ที่เปิดการเรียนการสอนทั้งหมด 16 แห่ง
การเรียนการสอนทางแพทยศาสตร์นั้น เกิดขึ้นครั้งแรกที่ [[โรงเรียนแพทยากร]] ซึ่ง[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]มีพระบรมราชานุญาตให้จัดตั้งขึ้น ณ [[โรงศิริราชพยาบาล]] ซึ่งก็คือ [[คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล]] [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] ในปัจจุบัน ต่อมา ในรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล]] ได้จัดตั้งคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 2 ขึ้น เพื่อผลิตแพทย์ให้เพียงพอที่จะช่วยเหลือประชาชน นั่นคือ [[คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] และได้จัดตั้งคณะแพทยศาสตร์ขึ้นในส่วนภูมิภาคของประเทศคณะแรก ได้แก่ [[คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]] เป็นคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 3 จากนั้น ได้จัดตั้ง [[คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล]] ซึ่งเป็นคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 4 ของประเทศ และเป็นคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 2 ของมหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบัน มี[[สถาบันอุดมศึกษา]]ที่เปิดการเรียนการสอนทั้งหมด 17 แห่ง
: '''''ดูเพิ่ม''''' [[รายชื่อคณะแพทยศาสตร์ในประเทศไทย]]
: '''''ดูเพิ่ม''''' [[รายชื่อคณะแพทยศาสตร์ในประเทศไทย]]


==ดูเพิ่ม==
==ดูเพิ่ม==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:40, 18 มกราคม 2550

แพทยศาสตร์ เป็นสาขาของวิทยาศาสตร์สุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพและเยียวยารักษาโรคหรืออาการเจ็บป่วย การแพทย์เป็นแขนงอาชีพที่ต้องใช้ทั้งความรู้และทักษะอย่างสูง

แพทยศาสตร์เป็นศาสตร์ที่เก่าแก่มีความสำคัญ ผู้ประกอบอาชีพทางการแพทย์มักได้รับความนับถือในสังคม แพทยศาสตร์มีศาสตร์เฉพาะทางต่าง ๆ อีกมากมายเช่น อายุรกรรม, ศัลยกรรม, ศัลยกรรมกระดูก, สูติกรรม, เวชกรรม, นิติเวชกรรม, จิตเวชกรรม,รังสีวิทยา และอื่น ๆ อีกมากมาย และในแต่ละสาขายังแบ่งย่อยเป็นสาขาย่อยลงไปอีกตามอวัยวะหรือกลุ่มของโรค เช่น ศัลยกรรมหัวใจ อายุรกรรมไต เป็นต้น

ประวัติศาสตร์การแพทย์

คณะแพทยศาสตร์ในประเทศไทย

การเรียนการสอนทางแพทยศาสตร์นั้น เกิดขึ้นครั้งแรกที่ โรงเรียนแพทยากร ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชานุญาตให้จัดตั้งขึ้น ณ โรงศิริราชพยาบาล ซึ่งก็คือ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ในปัจจุบัน ต่อมา ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ได้จัดตั้งคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 2 ขึ้น เพื่อผลิตแพทย์ให้เพียงพอที่จะช่วยเหลือประชาชน นั่นคือ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และได้จัดตั้งคณะแพทยศาสตร์ขึ้นในส่วนภูมิภาคของประเทศคณะแรก ได้แก่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 3 จากนั้น ได้จัดตั้ง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งเป็นคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 4 ของประเทศ และเป็นคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 2 ของมหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบัน มีสถาบันอุดมศึกษาที่เปิดการเรียนการสอนทั้งหมด 17 แห่ง

ดูเพิ่ม รายชื่อคณะแพทยศาสตร์ในประเทศไทย

ดูเพิ่ม