ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เยาวเรศ ชินวัตร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ichqueue (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tona22 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 7: บรรทัด 7:


เยาวเรศสมรสกับวีรชัย วงศ์นภาจันทร์ นักธุรกิจไทยเชื้อสายจีน ปัจจุบันแยกทางกันแล้ว มีบุตร 3 คน ใช้นามสกุลของบิดาคือ นางสาวชยิกา นายรัตนะ และ นายธนวัต วงศ์นภาจันทร์<ref name="บริหารคน 20"/>
เยาวเรศสมรสกับวีรชัย วงศ์นภาจันทร์ นักธุรกิจไทยเชื้อสายจีน ปัจจุบันแยกทางกันแล้ว มีบุตร 3 คน ใช้นามสกุลของบิดาคือ นางสาวชยิกา นายรัตนะ และ นายธนวัต วงศ์นภาจันทร์<ref name="บริหารคน 20"/>

== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
*[[พ.ศ. 2554]] - [[ไฟล์: Order of the Crown of Thailand - 2nd Class (Thailand) ribbon.png|80px]] [[เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย]] ชั้น[[ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย]] (ท.ม.)<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/B/024/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๔], เล่ม ๑๒๘, ตอน ๒๔ ข, ๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๔, หน้า ๑๙๓</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 23: บรรทัด 26:
[[หมวดหมู่:พรรคเพื่อไทย]]
[[หมวดหมู่:พรรคเพื่อไทย]]
[[หมวดหมู่:ชาวไทยที่นับถือศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:ชาวไทยที่นับถือศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ท.ม.]]
{{โครงชีวประวัติ}}
{{โครงชีวประวัติ}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:28, 3 ธันวาคม 2554

เยาวเรศ ชินวัตร (เกิด 30 มกราคม พ.ศ. 2495) ผู้ดูแลภาคใต้ของพรรคเพื่อไทย อดีตประธานสภาสตรีแห่งชาติในพระบรมราชินูปถัมภ์ คนที่ 20

เยาวเรศเป็นบุตรคนที่ 3 ในจำนวน 10 คน ของ นายเลิศ และนางยินดี ชินวัตร โดยเป็นบุตรสาวคนที่ 2[1] จบชั้นมัธยมศึกษาจากโรงเรียนดาราวิทยาลัยและสายพาณิชยการ จากวิทยาลัยเกริก จากนั้นได้ไปศึกษาต่อด้านการบริหารที่ประเทศอังกฤษจนจบอนุปริญญา เมื่อ พ.ศ. 2548 ได้เข้าศึกษาที่มหาวิทยาลัยนเรศวรในสาขาพัฒนาสังคม ปัจจุบันพ้นสภาพเนื่องจากลาออก ณ วันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2549

เยาวเรศเริ่มต้นทำงานด้วยการเป็นเลขานุการ ต่อมาทำงานเป็นพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน (แอร์โฮสเตส) สายการบินแอร์สยาม จากนั้นลาออกมาทำธุรกิจโรงภาพยนตร์ของครอบครัว และทำธุรกิจส่วนตัวโดยเปิดร้านขายสินค้าชุมชนและงานศิลปะ และธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในนาม บริษัท ชินวัตร โฮม จำกัด โดยให้รัตนะ และชยิกา วงศ์นภาจันทร์ บุตรชายและบุตรสาวเข้ามาดูแลในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการและผู้อำนวยการฝ่ายการตลาดและฝ่ายขายตามลำดับ ส่วนเยาวเรศดูแลภาพรวมในตำแหน่งซีอีโอ[2]

เยาวเรศสมรสกับวีรชัย วงศ์นภาจันทร์ นักธุรกิจไทยเชื้อสายจีน ปัจจุบันแยกทางกันแล้ว มีบุตร 3 คน ใช้นามสกุลของบิดาคือ นางสาวชยิกา นายรัตนะ และ นายธนวัต วงศ์นภาจันทร์[1]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 ถนอมศักดิ์ จิรายุสวัสดิ์ และ ปราณีย์ คชพร, 2554, หน้า 20
  2. ถนอมศักดิ์ จิรายุสวัสดิ์ และ ปราณีย์ คชพร, 2554, หน้า 155
  3. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๔, เล่ม ๑๒๘, ตอน ๒๔ ข, ๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๔, หน้า ๑๙๓
  • ถนอมศักดิ์ จิรายุสวัสดิ์ และ ปราณีย์ คชพร (2554). บริหารคนบริหารงานสไตล์ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร. ปราชญ์ สำนักพิมพ์. ISBN 9786162520129.