ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เนื้อทราย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rubinbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.5.4) (โรบอต เพิ่ม: my:ဒရယ်
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 30: บรรทัด 30:
มักอาศัยอยู่ในบริเวณที่ราบต่ำที่[[น้ำท่วม]]ถึง ออกหากินในเวลากลางคืน มีประสาทสัมผัสในการดมกลิ่นและฟังเสียงดีเยี่ยม แม่เนื้อทรายสามารถจดจำลูกตัวเองได้โดยการดมกลิ่น เมื่อพบศัตรูจะวิ่งหนีไม่กระโดดเหมือน[[เก้ง]]และ[[กวาง]] โดยปกติจะอาศัยอยู่ตามลำพัง แต่ในฤดูผสมพันธุ์ ราวเดือน[[กันยายน]]-[[ตุลาคม]] อาจหากินเป็นฝูงเล็ก ๆ ได้ ราว 12 ตัว ตั้งท้องประมาณ 8 เดือน วัยเจริญพันธุ์อยู่ที่ 2 ปี ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ในสถานที่เลี้ยงมีอายุราว 10-15 ปี
มักอาศัยอยู่ในบริเวณที่ราบต่ำที่[[น้ำท่วม]]ถึง ออกหากินในเวลากลางคืน มีประสาทสัมผัสในการดมกลิ่นและฟังเสียงดีเยี่ยม แม่เนื้อทรายสามารถจดจำลูกตัวเองได้โดยการดมกลิ่น เมื่อพบศัตรูจะวิ่งหนีไม่กระโดดเหมือน[[เก้ง]]และ[[กวาง]] โดยปกติจะอาศัยอยู่ตามลำพัง แต่ในฤดูผสมพันธุ์ ราวเดือน[[กันยายน]]-[[ตุลาคม]] อาจหากินเป็นฝูงเล็ก ๆ ได้ ราว 12 ตัว ตั้งท้องประมาณ 8 เดือน วัยเจริญพันธุ์อยู่ที่ 2 ปี ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ในสถานที่เลี้ยงมีอายุราว 10-15 ปี


เนื้อทราย เคยเป็น[[สัตว์ป่าสงวน]]ในพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า [[พ.ศ. 2509]] และถูกถอดชื่อออกเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ 1 ในพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า [[พ.ศ. 2535]] เนื่องจากสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ในปริมาณที่มากจำนวนหนึ่ง แต่สถานะในธรรมชาติในประเสไทย เชื่อว่า ปัจจุบัน เหลือเพียง 2 ที่เท่านั้น คือ [[ห้วยขาแข้ง]] และ[[เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว]] [[จ.ชัยภูมิ]] โดยเฉพาะที่ภูเขียว เป็นสถานที่ ๆ มีเนื้อทรายอยู่มากที่สุด จากการเพาะขยายพันธุ์และสืบพันธุ์เองตามธรรมชาติจากพ่อแม่พันธุ์ที่เกิดจากการเพาะโดย[[มนุษย์]]ที่ถูกปล่อย
เนื้อทราย เคยเป็น[[สัตว์ป่าสงวน]]ในพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า [[พ.ศ. 2509]] และถูกถอดชื่อออกเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ 1 ในพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า [[พ.ศ. 2535]] เนื่องจากสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ในปริมาณที่มากจำนวนหนึ่ง แต่สถานะในธรรมชาติในประเทศไทย เชื่อว่าในปัจจุบันเหลือเพียง 2 แห่งเท่านั้น คือ [[ห้วยขาแข้ง]] และ[[เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว]] [[จังหวัดชัยภูมิ]] โดยเฉพาะที่ภูเขียว เป็นสถานที่ ๆ มีเนื้อทรายอยู่มากที่สุด จากการเพาะขยายพันธุ์และสืบพันธุ์เองตามธรรมชาติจากพ่อแม่พันธุ์ที่เกิดจากการเพาะโดย[[มนุษย์]]ที่ถูกปล่อย


เนื้อทราย ตามคติของ[[คนไทย]] ถือว่าเป็นสัตว์ที่มีนัยน์ตาสวย จึงมีคำเปรียบเปรยว่า ''ตาสวยดังเนื้อทราย''
เนื้อทราย ตามคติของ[[คนไทย]] ถือว่าเป็นสัตว์ที่มีนัยน์ตาสวย จึงมีคำเปรียบเปรยว่า ''ตาสวยดังเนื้อทราย''

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:39, 30 พฤศจิกายน 2554

เนื้อทราย
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Artiodactyla
วงศ์: Cervidae
วงศ์ย่อย: Cervinae
สกุล: Axis
สปีชีส์: A.  porcinus
สปีชีส์ย่อย:
  • A.  p. annamiticus
  • A. p. porcinus
ชื่อทวินาม
Axis porcinus
(Zimmermann, 1780)
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์
ชื่อพ้อง
  • Cervus porcinus

เนื้อทราย หรือ ทราย หรือ ตามะแน เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกสัตว์กีบคู่ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Axis porcinus มีรูปร่างอ้วนป้อม ขาสั้น จึงได้ชื่อในภาษาอังกฤษว่า กวางหมู (Hog deer) เนื้อทรายจะมีสีขนเปลี่ยนไปตามสภาพภูมิอากาศ โดยปกติจะมีสีน้ำตาลเข้มในฤดูหนาว สีเทาในฤดูร้อน ลูกเนื้อทรายเมื่อแรกเดิดจะมีจุดสีขาวตามลำตัว เมื่อโตขึ้นจึงจายหายไป บริเวณช่วงท้องมีสีอ่อนกว่าลำตัว ขนสั้นมีปลายขนสีขาว มีแถบสีเข้มพาดตามหน้าผาก มีเขาเฉพาะเพศผู้ ลักษณะเขาคล้ายกวางป่า มีความยาวลำตัวและหัว 140-150 เซนติเมตร ความยาวหาง 17.5-21 เซนติเมตร ความสูงจากพื้นดินถึงหัวไหล่ 65-72 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 70-110 กิโลกรัม

มีการกระจายพันธุ์ตั้งแต่ภาคเหนือของอินเดีย, เนปาล, ศรีลังกา, ภูฏาน, บังกลาเทศ, พม่า, ภาคใต้ของจีน, ไทย, ลาว, พม่า, กัมพูชา, เวียดนาม, เกาะคาลาเมี่ยนในฟิลิปปินส์ และเกาะบาเวียนในอินโดนีเซีย

มักอาศัยอยู่ในบริเวณที่ราบต่ำที่น้ำท่วมถึง ออกหากินในเวลากลางคืน มีประสาทสัมผัสในการดมกลิ่นและฟังเสียงดีเยี่ยม แม่เนื้อทรายสามารถจดจำลูกตัวเองได้โดยการดมกลิ่น เมื่อพบศัตรูจะวิ่งหนีไม่กระโดดเหมือนเก้งและกวาง โดยปกติจะอาศัยอยู่ตามลำพัง แต่ในฤดูผสมพันธุ์ ราวเดือนกันยายน-ตุลาคม อาจหากินเป็นฝูงเล็ก ๆ ได้ ราว 12 ตัว ตั้งท้องประมาณ 8 เดือน วัยเจริญพันธุ์อยู่ที่ 2 ปี ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ในสถานที่เลี้ยงมีอายุราว 10-15 ปี

เนื้อทราย เคยเป็นสัตว์ป่าสงวนในพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2509 และถูกถอดชื่อออกเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ 1 ในพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 เนื่องจากสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ในปริมาณที่มากจำนวนหนึ่ง แต่สถานะในธรรมชาติในประเทศไทย เชื่อว่าในปัจจุบันเหลือเพียง 2 แห่งเท่านั้น คือ ห้วยขาแข้ง และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ โดยเฉพาะที่ภูเขียว เป็นสถานที่ ๆ มีเนื้อทรายอยู่มากที่สุด จากการเพาะขยายพันธุ์และสืบพันธุ์เองตามธรรมชาติจากพ่อแม่พันธุ์ที่เกิดจากการเพาะโดยมนุษย์ที่ถูกปล่อย

เนื้อทราย ตามคติของคนไทย ถือว่าเป็นสัตว์ที่มีนัยน์ตาสวย จึงมีคำเปรียบเปรยว่า ตาสวยดังเนื้อทราย

เนื้อทราย ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น กวางแขม ลำโอง และกวางทราย[2]

อ้างอิง

  1. Timmins, R.J., Duckworth, J.W., Samba Kumar, N., Anwarul Islam, Md., Sagar Baral, H., Long, B. & Maxwell, A. (2008).Axis porcinus In: IUCN 2008. IUCN Red List of Threatened Species. Downloaded on 8 April 2009. Database entry includes a brief justification of why this species is of endangered.
  2. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หน้า 65