ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามไครเมีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Your majesty (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: Crimean War (1853-1856): สงครามไครเมีย พ.ศ.2396-2399 เป็นสงครามใหญ่ครั้งแรก ระหว่าง...
 
Your majesty (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
Crimean War (1853-1856): สงครามไครเมีย พ.ศ.2396-2399
Crimean War (1853-1856): สงครามไครเมีย พ.ศ.2396-2399
เป็นสงครามใหญ่ครั้งแรก ระหว่างประเทศมหาอำนาจยุโรป หลังสมัยสงครามนโปเลียนที่ว่างเว้นมาถึง 40 ปี
เป็นสงครามใหญ่ครั้งแรก ระหว่างประเทศมหาอำนาจยุโรป หลังสมัยสงครามนโปเลียนที่ว่างเว้นมาถึง 40 ปี เป็นสงครามที่เกิดจากความขัดแย้งระหว่างรัสเซียกับจักรวรรดิออตโตมัน ซึ่งมีประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศสเป็นพันธมิตร เพื่อต่อต้านการขยายอำนาจของรัสเซีย ชนวนสงครามเกิดจากฝรั่งเศส เรียกร้องให้ตุรกีลงนามในสนธิสัญญายินยอมให้สิทธิแก่ตน ในการเข้าไปดูแลคุ้มครองคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมัน คาทอลิกในดินแดนศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่ภายใต้การปกครองของตุรกี สิทธิดังกล่าวนี้ เป็นการขัดแย้งกับข้อตกลง ที่รัสเซียกับตุรกีเคยตกลงกันในสนธิสัญญากุ๊ดชุค-ไกนาร์ดจิ (Treaty of Kuchuk Kainardji) ที่ให้รัสเซียดูแลคริสต์ศาสนิกชนนิกายกรีก ออร์โธดอกซ์ในดินแดนตุรกี ตั้งแต่ ค.ศ.1774 รัสเซียจึงขอให้ตุรกีปฏิเสธการเรียกร้องของฝรั่งเศส ซึ่งตุรกีไม่ยอมเพราะถือว่าเป็นการละเมิดอธิปไตยของตน รัสเซียจึงส่งกองเรือเข้าไปในช่องแคบบอสฟอรัส ตุรกีขอความช่วยเหลือจากฝรั่งเศส และอังกฤษส่งกองเรือเข้าไปประจำในบริเวณยุทธศาสตร์ เพื่อขัดขวางการขยายอำนาจของรัสเซีย เข้าไปในบริเวณคาบสมุทรบอลข่านด้วย ในที่สุดตุรกีก็ประกาศสงครามกับรัสเซียในวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ.1853 รัสเซียเอาชนะตุรกีในการรบทางเรืออย่างรวดเร็ว และทหารตุรกีเสียชีวิตมากกว่า 4,000 คน อังกฤษกับฝรั่งเศสเข้าช่วยตุรกี โดยการประกาศสงครามกับรัสเซียในวันที่ 27 มีนาคม ค.ศ.1854 ขณะที่ออสเตรีย อังกฤษ กับฝรั่งเศสต้องการให้เข้าข้างตนกลับประกาศตนเป็นกลาง ทั้งนี้เพราะรัสเซียเอาใจออสเตรียก่อนหน้านี้ ด้วยการถอนทหารออกจากมอลดาเวีย และวัลเลเชีย (Moldavia & Wallachia)
เป็นสงครามที่เกิดจากความขัดแย้งระหว่างรัสเซียกับจักรวรรดิออตโตมัน ซึ่งมีประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศสเป็นพันธมิตร
การรบดำเนินไปทั้งทางบก และเรือที่เมืองเซวัสโตปอล (Sevastopol) ฐานทัพเรือสำคัญของรัสเซียในทะเลดำ ยุทธการที่บาลาคลาวา (Battle of Balaklava) ทำให้ทหารอังกฤษเสียชีวิตไปสามในสี่ เป็นความบันดาลใจของลอร์ด เทนนิสัน (Lord Alfred Tennyson) แต่งกวีนิพนธ์ชื่อ The Charge of the Light Brigade ค.ศ.1954 สดุดียุทธการที่บาลาคลาวาเป็นที่รู้จักกันต่อมา
เพื่อต่อต้านการขยายอำนาจของรัสเซีย ชนวนสงครามเกิดจากฝรั่งเศส เรียกร้องให้ตุรกีลงนามในสนธิสัญญายินยอมให้สิทธิแก่ตน
ในที่สุดพันธมิตรอังกฤษ ฝรั่งเศสสามารถเอาชนะรัสเซียได้ ทหารรัสเซียเสียชีวิตถึง 12,000 คน และในเดือนมกราคม ค.ศ.1855 ราชอาณาจักรปิเอดมอนด์- ซาร์ดิเนีย (Kingdom of Piedmont-Sardinia) ทางตอนเหนือของอิตาลีก็ประกาศเข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับอังกฤษ และฝรั่งเศส เพราะต้องการการสนับสนุนจากมหาประเทศทั้งสอง ดำเนินการรวมอิตาลี รวมทั้งออสเตรียก็หันมาสนับสนุนอังกฤษกับฝรั่งเศสด้วย ฝ่ายรัสเซียเพลี่ยงพล้ำอย่างหนัก พระเจ้านิโคลัสที่ 1 เสด็จสวรรคต ผู้สืบทอดราชสมบัติ คือพระเจ้าอะเล็กซานเดอร์ที่สองใน ค.ศ.1855 และพระเจ้าอะเล็กซานเดอร์ที่สอง ทรงตัดสินพระทัยยุติสงครามในวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ.1856
ในการเข้าไปดูแลคุ้มครองคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมัน คาทอลิกในดินแดนศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่ภายใต้การปกครองของตุรกี สิทธิดังกล่าวนี้
เป็นการขัดแย้งกับข้อตกลง ที่รัสเซียกับตุรกีเคยตกลงกันในสนธิสัญญากุ๊ดชุค-ไกนาร์ดจิ (Treaty of Kuchuk Kainardji)
ที่ให้รัสเซียดูแลคริสต์ศาสนิกชนนิกายกรีก ออร์โธดอกซ์ในดินแดนตุรกี ตั้งแต่ ค.ศ.1774 รัสเซียจึงขอให้ตุรกีปฏิเสธการเรียกร้องของฝรั่งเศส
ซึ่งตุรกีไม่ยอมเพราะถือว่าเป็นการละเมิดอธิปไตยของตน รัสเซียจึงส่งกองเรือเข้าไปในช่องแคบบอสฟอรัส ตุรกีขอความช่วยเหลือจากฝรั่งเศส
และอังกฤษส่งกองเรือเข้าไปประจำในบริเวณยุทธศาสตร์ เพื่อขัดขวางการขยายอำนาจของรัสเซีย เข้าไปในบริเวณคาบสมุทรบอลข่านด้วย
ในที่สุดตุรกีก็ประกาศสงครามกับรัสเซียในวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ.1853 รัสเซียเอาชนะตุรกีในการรบทางเรืออย่างรวดเร็ว
และทหารตุรกีเสียชีวิตมากกว่า 4,000 คน อังกฤษกับฝรั่งเศสเข้าช่วยตุรกี โดยการประกาศสงครามกับรัสเซียในวันที่ 27 มีนาคม ค.ศ.1854
ขณะที่ออสเตรีย อังกฤษ กับฝรั่งเศสต้องการให้เข้าข้างตนกลับประกาศตนเป็นกลาง ทั้งนี้เพราะรัสเซียเอาใจออสเตรียก่อนหน้านี้
ด้วยการถอนทหารออกจากมอลดาเวีย และวัลเลเชีย (Moldavia & Wallachia)
การรบดำเนินไปทั้งทางบก และเรือที่เมืองเซวัสโตปอล (Sevastopol) ฐานทัพเรือสำคัญของรัสเซียในทะเลดำ
ยุทธการที่บาลาคลาวา (Battle of Balaklava) ทำให้ทหารอังกฤษเสียชีวิตไปสามในสี่ เป็นความบันดาลใจของลอร์ด เทนนิสัน (Lord Alfred Tennyson)
แต่งกวีนิพนธ์ชื่อ The Charge of the Light Brigade ค.ศ.1954 สดุดียุทธการที่บาลาคลาวาเป็นที่รู้จักกันต่อมา
ในที่สุดพันธมิตรอังกฤษ ฝรั่งเศสสามารถเอาชนะรัสเซียได้ ทหารรัสเซียเสียชีวิตถึง 12,000 คน
และในเดือนมกราคม ค.ศ.1855 ราชอาณาจักรปิเอดมอนด์- ซาร์ดิเนีย (Kingdom of Piedmont-Sardinia) ทางตอนเหนือของอิตาลีก็ประกาศเข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับอังกฤษ
และฝรั่งเศส เพราะต้องการการสนับสนุนจากมหาประเทศทั้งสอง ดำเนินการรวมอิตาลี รวมทั้งออสเตรียก็หันมาสนับสนุนอังกฤษกับฝรั่งเศสด้วย
ฝ่ายรัสเซียเพลี่ยงพล้ำอย่างหนัก พระเจ้านิโคลัสที่ 1 เสด็จสวรรคต ผู้สืบทอดราชสมบัติ คือพระเจ้าอะเล็กซานเดอร์ที่สองใน ค.ศ.1855
และพระเจ้าอะเล็กซานเดอร์ที่สอง ทรงตัดสินพระทัยยุติสงครามในวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ.1856

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:26, 20 กันยายน 2554

Crimean War (1853-1856): สงครามไครเมีย พ.ศ.2396-2399

เป็นสงครามใหญ่ครั้งแรก ระหว่างประเทศมหาอำนาจยุโรป หลังสมัยสงครามนโปเลียนที่ว่างเว้นมาถึง 40 ปี 

เป็นสงครามที่เกิดจากความขัดแย้งระหว่างรัสเซียกับจักรวรรดิออตโตมัน ซึ่งมีประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศสเป็นพันธมิตร

เพื่อต่อต้านการขยายอำนาจของรัสเซีย ชนวนสงครามเกิดจากฝรั่งเศส เรียกร้องให้ตุรกีลงนามในสนธิสัญญายินยอมให้สิทธิแก่ตน
ในการเข้าไปดูแลคุ้มครองคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมัน คาทอลิกในดินแดนศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่ภายใต้การปกครองของตุรกี สิทธิดังกล่าวนี้
เป็นการขัดแย้งกับข้อตกลง ที่รัสเซียกับตุรกีเคยตกลงกันในสนธิสัญญากุ๊ดชุค-ไกนาร์ดจิ (Treaty of Kuchuk Kainardji) 

ที่ให้รัสเซียดูแลคริสต์ศาสนิกชนนิกายกรีก ออร์โธดอกซ์ในดินแดนตุรกี ตั้งแต่ ค.ศ.1774 รัสเซียจึงขอให้ตุรกีปฏิเสธการเรียกร้องของฝรั่งเศส

ซึ่งตุรกีไม่ยอมเพราะถือว่าเป็นการละเมิดอธิปไตยของตน รัสเซียจึงส่งกองเรือเข้าไปในช่องแคบบอสฟอรัส ตุรกีขอความช่วยเหลือจากฝรั่งเศส
และอังกฤษส่งกองเรือเข้าไปประจำในบริเวณยุทธศาสตร์ เพื่อขัดขวางการขยายอำนาจของรัสเซีย เข้าไปในบริเวณคาบสมุทรบอลข่านด้วย
ในที่สุดตุรกีก็ประกาศสงครามกับรัสเซียในวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ.1853 รัสเซียเอาชนะตุรกีในการรบทางเรืออย่างรวดเร็ว
และทหารตุรกีเสียชีวิตมากกว่า 4,000 คน อังกฤษกับฝรั่งเศสเข้าช่วยตุรกี โดยการประกาศสงครามกับรัสเซียในวันที่ 27 มีนาคม ค.ศ.1854 

ขณะที่ออสเตรีย อังกฤษ กับฝรั่งเศสต้องการให้เข้าข้างตนกลับประกาศตนเป็นกลาง ทั้งนี้เพราะรัสเซียเอาใจออสเตรียก่อนหน้านี้

ด้วยการถอนทหารออกจากมอลดาเวีย และวัลเลเชีย (Moldavia & Wallachia)
การรบดำเนินไปทั้งทางบก และเรือที่เมืองเซวัสโตปอล (Sevastopol) ฐานทัพเรือสำคัญของรัสเซียในทะเลดำ 

ยุทธการที่บาลาคลาวา (Battle of Balaklava) ทำให้ทหารอังกฤษเสียชีวิตไปสามในสี่ เป็นความบันดาลใจของลอร์ด เทนนิสัน (Lord Alfred Tennyson) แต่งกวีนิพนธ์ชื่อ The Charge of the Light Brigade ค.ศ.1954 สดุดียุทธการที่บาลาคลาวาเป็นที่รู้จักกันต่อมา

ในที่สุดพันธมิตรอังกฤษ ฝรั่งเศสสามารถเอาชนะรัสเซียได้ ทหารรัสเซียเสียชีวิตถึง 12,000 คน
และในเดือนมกราคม ค.ศ.1855 ราชอาณาจักรปิเอดมอนด์- ซาร์ดิเนีย (Kingdom of Piedmont-Sardinia) ทางตอนเหนือของอิตาลีก็ประกาศเข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับอังกฤษ 

และฝรั่งเศส เพราะต้องการการสนับสนุนจากมหาประเทศทั้งสอง ดำเนินการรวมอิตาลี รวมทั้งออสเตรียก็หันมาสนับสนุนอังกฤษกับฝรั่งเศสด้วย

ฝ่ายรัสเซียเพลี่ยงพล้ำอย่างหนัก พระเจ้านิโคลัสที่ 1 เสด็จสวรรคต ผู้สืบทอดราชสมบัติ คือพระเจ้าอะเล็กซานเดอร์ที่สองใน ค.ศ.1855
และพระเจ้าอะเล็กซานเดอร์ที่สอง ทรงตัดสินพระทัยยุติสงครามในวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ.1856