ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาสินสมุทรวงฟ้า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Plesiosaur (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19: บรรทัด 19:
ลำตัวมีลาย[[สีน้ำเงิน]]พาดโค้งตลอดลำตัว เหนือ[[แผ่นปิดเหงือก]]มีวงคล้ายวงแหวนสีฟ้า ซึ่งเป็นลักษณะเด่นที่ป็นที่มาของชื่อเรียก ครีบหลังตอนท้ายเป็นปลายแหลมยื่นยาวออกไป เมื่อยังเป็นลูกปลาวัยอ่อนมีลายพาดขวางสีน้ำเงินสลับฟ้าคล้ายกับ[[''Pomacanthus semicirculatus''|ปลาสินสมุทรหางเส้น]] (''P. semicirculatus'') ซึ่งเป็นปลาใน[[Pomacanthus|สกุลเดียวกัน]] แต่หางของปลาสินสมุทรวงฟ้าเป็น[[สีขาว]]<ref>[http://www.krunok.net/index2.php/?page_id=717 วงศ์ ปลาสินสมุทร​ (Family Pomcanthidae)]</ref>
ลำตัวมีลาย[[สีน้ำเงิน]]พาดโค้งตลอดลำตัว เหนือ[[แผ่นปิดเหงือก]]มีวงคล้ายวงแหวนสีฟ้า ซึ่งเป็นลักษณะเด่นที่ป็นที่มาของชื่อเรียก ครีบหลังตอนท้ายเป็นปลายแหลมยื่นยาวออกไป เมื่อยังเป็นลูกปลาวัยอ่อนมีลายพาดขวางสีน้ำเงินสลับฟ้าคล้ายกับ[[''Pomacanthus semicirculatus''|ปลาสินสมุทรหางเส้น]] (''P. semicirculatus'') ซึ่งเป็นปลาใน[[Pomacanthus|สกุลเดียวกัน]] แต่หางของปลาสินสมุทรวงฟ้าเป็น[[สีขาว]]<ref>[http://www.krunok.net/index2.php/?page_id=717 วงศ์ ปลาสินสมุทร​ (Family Pomcanthidae)]</ref>


มีขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 1 [[ฟุต]] [[น้ำหนัก]]ประมาณ 1 [[กิโลกรัม]] อาศัยอยู่ตาม[[แนวปะการัง]]และ[[กองหิน]]ใต้น้ำ รวมถึงซาก[[โป๊ะ]]หรือ[[เรือ]]จมด้วย ในความลึกตั้งแต่ 3-40 [[เมตร]] ขณะยังเป็นลูกปลาวัยอ่อนจะอยู่ในความลึกเพียง 2-3 เมตร มักอยู่เป็นฝูงประมาณ 10-20 ตัว หรือเป็นคู่ น้อยครั้งที่จะพบเพียงลำพังตัวเดียว
มีขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 1 [[ฟุต]] [[น้ำหนัก]]ประมาณ 1 [[กิโลกรัม]] อาศัยอยู่ตาม[[แนวปะการัง]]และ[[หิน|กองหิน]]ใต้น้ำ รวมถึงซาก[[โป๊ะ]]หรือ[[เรือ]]จมด้วย ในความลึกตั้งแต่ 3-40 [[เมตร]] ขณะยังเป็นลูกปลาวัยอ่อนจะอยู่ในความลึกเพียง 2-3 เมตร มักอยู่เป็นฝูงประมาณ 10-20 ตัว หรือเป็นคู่ น้อยครั้งที่จะพบเพียงลำพังตัวเดียว


พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่[[แอฟริกาตะวันออก]], [[อินโดนีเซีย]]จนถึง[[ปาปัวนิวกินี]], [[นิวแคลิโดเนีย]] และ[[ทะเลญี่ปุ่น]] ใน[[น่านน้ำไทย]]จะพบได้ที่[[จังหวัดภูเก็ต]]และ[[สตูล]] โดยมีชื่อเรียกใน[[ภาษาถิ่นใต้|ท้องถิ่น]]ว่า "ปลาโนราห์"
พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่[[แอฟริกาตะวันออก]], [[อินโดนีเซีย]]จนถึง[[ปาปัวนิวกินี]], [[นิวแคลิโดเนีย]] และ[[ทะเลญี่ปุ่น]] ใน[[น่านน้ำไทย]]จะพบได้ที่[[จังหวัดภูเก็ต]]และ[[สตูล]] โดยมีชื่อเรียกใน[[ภาษาถิ่นใต้|ท้องถิ่น]]ว่า "ปลาโนราห์"

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:50, 14 กันยายน 2554

ปลาสินสมุทรวงฟ้า
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Actinopterygii
อันดับ: Perciformes
วงศ์: Pomacanthidae
สกุล: Pomacanthus
สปีชีส์: P.  annularis
ชื่อทวินาม
Pomacanthus annularis
(Bloch, 1787)

ปลาสินสมุทรวงฟ้า หรือ ปลาสินสมุทรวงแหวนสีน้ำเงิน (อังกฤษ: Bluering angelfish) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pomacanthus annularis อยู่ในวงศ์ปลาสินสมุทร (Pomcanthidae)

ลำตัวมีลายสีน้ำเงินพาดโค้งตลอดลำตัว เหนือแผ่นปิดเหงือกมีวงคล้ายวงแหวนสีฟ้า ซึ่งเป็นลักษณะเด่นที่ป็นที่มาของชื่อเรียก ครีบหลังตอนท้ายเป็นปลายแหลมยื่นยาวออกไป เมื่อยังเป็นลูกปลาวัยอ่อนมีลายพาดขวางสีน้ำเงินสลับฟ้าคล้ายกับปลาสินสมุทรหางเส้น (P. semicirculatus) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกัน แต่หางของปลาสินสมุทรวงฟ้าเป็นสีขาว[1]

มีขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 1 ฟุต น้ำหนักประมาณ 1 กิโลกรัม อาศัยอยู่ตามแนวปะการังและกองหินใต้น้ำ รวมถึงซากโป๊ะหรือเรือจมด้วย ในความลึกตั้งแต่ 3-40 เมตร ขณะยังเป็นลูกปลาวัยอ่อนจะอยู่ในความลึกเพียง 2-3 เมตร มักอยู่เป็นฝูงประมาณ 10-20 ตัว หรือเป็นคู่ น้อยครั้งที่จะพบเพียงลำพังตัวเดียว

พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่แอฟริกาตะวันออก, อินโดนีเซียจนถึงปาปัวนิวกินี, นิวแคลิโดเนีย และทะเลญี่ปุ่น ในน่านน้ำไทยจะพบได้ที่จังหวัดภูเก็ตและสตูล โดยมีชื่อเรียกในท้องถิ่นว่า "ปลาโนราห์"

เป็นปลาอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามเหมือนกับปลาชนิดอื่นในวงศ์เดียวกัน ซึ่งนับเป็นปลาที่เลี้ยงง่าย กินอาหารได้หลากหลาย ฝึกให้กินอาหารเม็ดได้ แต่เป็นปลาที่ขี้ตื่นตกใจโดยเฉพาะปลาในวัยอ่อน แต่หากปลาปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมได้แล้วก็จะเป็นปลาที่มีนิสัยค่อนข้างก้าวร้าวอีกชนิดหนึ่ง[2]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น