ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาโนรีครีบสั้น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: {{ตารางจำแนกพันธุ์ | color = pink | name = | image = Heniochus singularius 2000 Thailand.jpg | image_width = 250px | image_caption = ปล...
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19: บรรทัด 19:
'''ปลาโนรีครีบสั้น''' หรือ '''ปลาโนรีหลังเหลือง''' ({{lang-en|Singular bannerfish, Philippine kabubu}}) เป็น[[ปลาทะเล]][[สปีชีส์|ชนิด]]หนึ่ง มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Heniochus singularis'' ใน[[วงศ์ปลาผีเสื้อ]] (Chaetodontidae)
'''ปลาโนรีครีบสั้น''' หรือ '''ปลาโนรีหลังเหลือง''' ({{lang-en|Singular bannerfish, Philippine kabubu}}) เป็น[[ปลาทะเล]][[สปีชีส์|ชนิด]]หนึ่ง มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Heniochus singularis'' ใน[[วงศ์ปลาผีเสื้อ]] (Chaetodontidae)


มีรูปร่างคล้ายกับ[[ปลาโนรีครีบยาว]] (''H. acuminatus'') ซึ่งอยู่ใน[[''Heniochus''|สกุลเดียวกัน]] แต่มีรูปร่างใหญ่กว่า มีครีบบนหลังสั้นกว่ามากและบริเวณท้ายลำตัวมีสีออก[[เหลือง]]เข้มกว่า <ref>[http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=9530000036933 ปลาโนรี ธงทิวใต้ทะเลลึก / วินิจ รังผึ้ง จาก[[ผู้จัดการออนไลน์]]]</ref>
มีรูปร่างคล้ายกับ[[ปลาโนรีครีบยาว]] (''H. acuminatus'') ซึ่งอยู่ใน[[Heniochus|สกุลเดียวกัน]] แต่มีรูปร่างใหญ่กว่า มีครีบบนหลังสั้นกว่ามากและบริเวณท้ายลำตัวมีสีออก[[เหลือง]]เข้มกว่า <ref>[http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=9530000036933 ปลาโนรี ธงทิวใต้ทะเลลึก / วินิจ รังผึ้ง จาก[[ผู้จัดการออนไลน์]]]</ref>


มีขนาดโตเต็มที่ยาวประมาณ 30 [[เซนติเมตร]] พบในความลึกประมาณ 2-40 [[เมตร]] ชอบอยู่ในแหล่งน้ำที่ค่อนข้างขุ่นกว่าปลาโนรีชนิดอื่น กระจายพันธุ์ใน[[มหาสมุทรแปซิฟิก]] ได้แก่ [[หมู่เกาะอันดามัน]], [[มหาสมุทรอินเดีย]], [[ซามัว]], [[ทะเลญี่ปุ่น]] และ[[นิวคาลิโดเนีย]] เป็นต้น
มีขนาดโตเต็มที่ยาวประมาณ 30 [[เซนติเมตร]] พบในความลึกประมาณ 2-40 [[เมตร]] ชอบอยู่ในแหล่งน้ำที่ค่อนข้างขุ่นกว่าปลาโนรีชนิดอื่น กระจายพันธุ์ใน[[มหาสมุทรแปซิฟิก]] ได้แก่ [[หมู่เกาะอันดามัน]], [[มหาสมุทรอินเดีย]], [[ซามัว]], [[ทะเลญี่ปุ่น]] และ[[นิวแคลิโดเนีย]] เป็นต้น


เป็นปลาที่แลดูแล้วไม่สวยเหมือนปลาโนรีชนิดอื่น ๆ แต่ก็นิยมเลี้ยงเป็น[[ปลาสวยงาม]] โดยถูกจับปะปนมากับปลาโนรีชนิดอื่น<ref>[http://www.fufufish.com/butterflyfish/singular-bannerfish.html Singular Bannerfish (โนรีเขา)]</ref>
เป็นปลาที่แลดูแล้วไม่สวยเหมือนปลาโนรีชนิดอื่น ๆ แต่ก็นิยมเลี้ยงเป็น[[ปลาสวยงาม]] โดยถูกจับปะปนมากับปลาโนรีชนิดอื่น<ref>[http://www.fufufish.com/butterflyfish/singular-bannerfish.html Singular Bannerfish (โนรีเขา)]</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:59, 14 กันยายน 2554

ปลาโนรีครีบสั้น
ปลาโนรีครีบสั้นในประเทศไทย เมื่อปี ค.ศ. 2000
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Actinopterygii
อันดับ: Perciformes
วงศ์: Chaetodontidae
สกุล: Heniochus
สปีชีส์: H.  singularius
ชื่อทวินาม
Heniochus singularius
Smith & Radcliffe, 1911

ปลาโนรีครีบสั้น หรือ ปลาโนรีหลังเหลือง (อังกฤษ: Singular bannerfish, Philippine kabubu) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Heniochus singularis ในวงศ์ปลาผีเสื้อ (Chaetodontidae)

มีรูปร่างคล้ายกับปลาโนรีครีบยาว (H. acuminatus) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่มีรูปร่างใหญ่กว่า มีครีบบนหลังสั้นกว่ามากและบริเวณท้ายลำตัวมีสีออกเหลืองเข้มกว่า [1]

มีขนาดโตเต็มที่ยาวประมาณ 30 เซนติเมตร พบในความลึกประมาณ 2-40 เมตร ชอบอยู่ในแหล่งน้ำที่ค่อนข้างขุ่นกว่าปลาโนรีชนิดอื่น กระจายพันธุ์ในมหาสมุทรแปซิฟิก ได้แก่ หมู่เกาะอันดามัน, มหาสมุทรอินเดีย, ซามัว, ทะเลญี่ปุ่น และนิวแคลิโดเนีย เป็นต้น

เป็นปลาที่แลดูแล้วไม่สวยเหมือนปลาโนรีชนิดอื่น ๆ แต่ก็นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยถูกจับปะปนมากับปลาโนรีชนิดอื่น[2]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น