ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลวงพ่อเนียม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: {{กล่องข้อมูล พระสงฆ์ไทย |ชื่อ = |ชื่อภาพ = |ฉายา = |ชื่อทั่วไป = หลว...
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล พระสงฆ์ไทย
{{กล่องข้อมูล พระสงฆ์ไทย
|ชื่อ =
|ชื่อ =
|ชื่อภาพ =
|ชื่อภาพ =
|ฉายา =
|ฉายา =
|ชื่อทั่วไป = หลวงพ่อเนียม วัดน้อย
|ชื่อทั่วไป = หลวงพ่อเนียม วัดน้อย
|สมณศักดิ์ =
|สมณศักดิ์ =
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
|รางวัล =
|รางวัล =
}}
}}
'''หลวงพ่อเนียม วัดน้อย''' ([[พ.ศ. 2372]] — [[17 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2453]] ท่านเป็นพระเกจิชื่อดังแห่ง [[สุพรรณบุรี]] เป็นที่นับถือโดยทั่วไป ในด้านปาฏิหารย์ พระพุทธคุณของท่าน มากมายยิ่งนัก ทั้งในด้านมหาอุต คงกระพัน และแคล้วคลาด และเป็นที่ยอมรับด้วยกันมานาน มานานแล้วศิษย์ของท่านที่มีชื่อเสียงที่โด่งดังก็คือ [[หลวงพ่อโหน่ง วัดคลองมะดัน]] [[หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค]]
'''หลวงพ่อเนียม วัดน้อย''' ([[พ.ศ. 2372]] — [[17 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2453]] ท่านเป็นพระเกจิชื่อดังแห่ง [[สุพรรณบุรี]] เป็นที่นับถือโดยทั่วไป ในด้านปาฏิหารย์ พระพุทธคุณของท่าน มากมายยิ่งนัก ทั้งในด้านมหาอุต คงกระพัน และแคล้วคลาด และเป็นที่ยอมรับด้วยกันมานาน มานานแล้วศิษย์ของท่านที่มีชื่อเสียงที่โด่งดังก็คือ [[หลวงพ่อโหน่ง วัดคลองมะดัน]] และ [[หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค]]
== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
'''หลวงพ่อเนียม วัดน้อย''' ท่านเกิดเมื่อปี [[พ.ศ. 2372]] ตรงกับรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ณ ตำบลมะค่า อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี อุปสมบทในบวรพระพุทธศาสนา ณ วัดใกล้บ้านท่านในปี [[พ.ศ. 2392]] ได้ตั้งใจศึกษาพระธรรมวินัยและมูลกัจจายน์ ที่วัดแถบ[[ฝั่งธนบุรี]] ([[จังหวัดธนบุรี]])ในอดีต ท่านมีความสนใจในทางวิปัสสนาธุระ หลวงพ่อท่านช่วยใหเการศึกษาอย่างเต็มที่ หลวงพ่อเนียมท่านมีชื่อเสียงในการรักษาโรคต่างๆ สามารถมองเห็นเหตุการณ์ต่างๆข้างหน้าได้อย่างตาทิพย์ คนมักจะถ่ายรูปท่านไม่ติด พระเณรที่ประพฤติผิดวินัย ท่านสามารถทราบได้เอง โดยไม่ต้องมีใครมาบอกท่าน ท่านเป็นผู้ที่ความเมตตาต่อสัตว์ทุกชนิด กิจวัตรของท่านก็คือ ตื่นแต่เช้ามืด ครองจีวรแล้วปลงอาบัติ เสร็จแล้ว นั่งสนทนากับพระภิกษุในวัดเป็นการอบรมไปในตัว พ่อรุ่งเช้าจึงออกบิณฑบาต ท่านมรณภาพเมื่อวันที่ [[17 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2453]] ตรงกับต้นรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] สิริอายุได้ 81 ปี อยู่ในสมณเพศได้ 61 พรรษา
'''หลวงพ่อเนียม วัดน้อย''' ท่านเกิดเมื่อปี [[พ.ศ. 2372]] ตรงกับรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ณ ตำบลมะค่า อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี อุปสมบทในบวรพระพุทธศาสนา ณ วัดใกล้บ้านท่านในปี [[พ.ศ. 2392]] ได้ตั้งใจศึกษาพระธรรมวินัยและมูลกัจจายน์ ที่วัดแถบ[[ฝั่งธนบุรี]] ([[จังหวัดธนบุรี]])ในอดีต ท่านมีความสนใจในทางวิปัสสนาธุระ หลวงพ่อท่านช่วยใหเการศึกษาอย่างเต็มที่ หลวงพ่อเนียมท่านมีชื่อเสียงในการรักษาโรคต่างๆ สามารถมองเห็นเหตุการณ์ต่างๆข้างหน้าได้อย่างตาทิพย์ คนมักจะถ่ายรูปท่านไม่ติด พระเณรที่ประพฤติผิดวินัย ท่านสามารถทราบได้เอง โดยไม่ต้องมีใครมาบอกท่าน ท่านเป็นผู้ที่ความเมตตาต่อสัตว์ทุกชนิด กิจวัตรของท่านก็คือ ตื่นแต่เช้ามืด ครองจีวรแล้วปลงอาบัติ เสร็จแล้ว นั่งสนทนากับพระภิกษุในวัดเป็นการอบรมไปในตัว พ่อรุ่งเช้าจึงออกบิณฑบาต ท่านมรณภาพเมื่อวันที่ [[17 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2453]] ตรงกับต้นรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] สิริอายุได้ 81 ปี อยู่ในสมณเพศได้ 61 พรรษา

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:46, 31 สิงหาคม 2554

หลวงพ่อเนียม

(— —)
ชื่ออื่นหลวงพ่อเนียม วัดน้อย
ส่วนบุคคล
เกิดพ.ศ. 2372 (81 ปี)
มรณภาพ17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453
ตำแหน่งชั้นสูง
ที่อยู่วัดน้อย สุพรรณบุรี
อุปสมบทพ.ศ. 2392
พรรษา61
ตำแหน่ง

หลวงพ่อเนียม วัดน้อย (พ.ศ. 237217 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 ท่านเป็นพระเกจิชื่อดังแห่ง สุพรรณบุรี เป็นที่นับถือโดยทั่วไป ในด้านปาฏิหารย์ พระพุทธคุณของท่าน มากมายยิ่งนัก ทั้งในด้านมหาอุต คงกระพัน และแคล้วคลาด และเป็นที่ยอมรับด้วยกันมานาน มานานแล้วศิษย์ของท่านที่มีชื่อเสียงที่โด่งดังก็คือ หลวงพ่อโหน่ง วัดคลองมะดัน และ หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค

ประวัติ

หลวงพ่อเนียม วัดน้อย ท่านเกิดเมื่อปี พ.ศ. 2372 ตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ ตำบลมะค่า อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี อุปสมบทในบวรพระพุทธศาสนา ณ วัดใกล้บ้านท่านในปี พ.ศ. 2392 ได้ตั้งใจศึกษาพระธรรมวินัยและมูลกัจจายน์ ที่วัดแถบฝั่งธนบุรี (จังหวัดธนบุรี)ในอดีต ท่านมีความสนใจในทางวิปัสสนาธุระ หลวงพ่อท่านช่วยใหเการศึกษาอย่างเต็มที่ หลวงพ่อเนียมท่านมีชื่อเสียงในการรักษาโรคต่างๆ สามารถมองเห็นเหตุการณ์ต่างๆข้างหน้าได้อย่างตาทิพย์ คนมักจะถ่ายรูปท่านไม่ติด พระเณรที่ประพฤติผิดวินัย ท่านสามารถทราบได้เอง โดยไม่ต้องมีใครมาบอกท่าน ท่านเป็นผู้ที่ความเมตตาต่อสัตว์ทุกชนิด กิจวัตรของท่านก็คือ ตื่นแต่เช้ามืด ครองจีวรแล้วปลงอาบัติ เสร็จแล้ว นั่งสนทนากับพระภิกษุในวัดเป็นการอบรมไปในตัว พ่อรุ่งเช้าจึงออกบิณฑบาต ท่านมรณภาพเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 ตรงกับต้นรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สิริอายุได้ 81 ปี อยู่ในสมณเพศได้ 61 พรรษา

อ้างอิง

  1. หนังสือรวมสุดยอดพระคณาจารย์ทั้งหมด 180 พระองค์
  2. พระเครื่องหลวงพ่อเนียม วัดน้อย
  3. ศูนย์พระดอดคอม
  4. ประวัติหลวงพ่อเนียม วัดน้อย

แหล่งอ้างอิงเพิ่มเติม

  1. วัตถุมงคลของหลวงพ่อเนียม
  2. เหรียญหลวงพ่อเนียม