ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนธิสัญญาลอนดอน (ค.ศ. 1913)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AAAERTCM (คุย | ส่วนร่วม)
ลิงก์ข้ามภาษา
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13: บรรทัด 13:


ออสเตรีย-ฮังการีและอิตาลีสนับสนุนการสถาปนาอัลเบเนียที่เป็นเอกราชอย่างแข็งขัน ซึ่งบางส่วนเป็นเพราะต้องกับนโยบายที่แล้วมาของออสเตรีย-ฮังการีที่สกัดกั้นการขยายตัวของเซอร์บไปสู่[[ทะเลเอเดรียติก]] อิตาลีหมายปองดินแดนดังกล่าว ซึ่งปรากฎออกมาใน ค.ศ. 1939 รัสเซียสนับสนุนเซอร์เบียและมอนเตเนโกร เยอรมนีและอังกฤษวางตัวเป็นกลาง สมดุลแห่งอำนาจปะทะกันระหว่างสมาชิกสันนิบาตอาหรับซึ่งถือว่าอัลเบเนียจะเป็นดินแดนยึดครองที่จะถูกแบ่งปันกันระหว่างประเทศทั้งหลาย
ออสเตรีย-ฮังการีและอิตาลีสนับสนุนการสถาปนาอัลเบเนียที่เป็นเอกราชอย่างแข็งขัน ซึ่งบางส่วนเป็นเพราะต้องกับนโยบายที่แล้วมาของออสเตรีย-ฮังการีที่สกัดกั้นการขยายตัวของเซอร์บไปสู่[[ทะเลเอเดรียติก]] อิตาลีหมายปองดินแดนดังกล่าว ซึ่งปรากฎออกมาใน ค.ศ. 1939 รัสเซียสนับสนุนเซอร์เบียและมอนเตเนโกร เยอรมนีและอังกฤษวางตัวเป็นกลาง สมดุลแห่งอำนาจปะทะกันระหว่างสมาชิกสันนิบาตอาหรับซึ่งถือว่าอัลเบเนียจะเป็นดินแดนยึดครองที่จะถูกแบ่งปันกันระหว่างประเทศทั้งหลาย

== เงื่อนไข ==
เงื่อนไขที่บังคับใช้โดยมหาอำนาจ มีดังนี้<ref>[http://www.zum.de/psm/div/tuerkei/mowat120.php (HIS,P) Treaty of Peace between Greece, Bulgaria, Montenegro, Serbia on the one part and Turkey on the other part. (London) May 17/30, 1913<!-- Bot generated title -->]</ref>
* ดินแดนยุโรปทั้งหมดของจักรวรรดิออตโตมันทางตะวันตกของเส้นระหว่าง Enez บน[[ทะเลอีเีจียน]] และ Midia บน[[ทะเลดำ]] จะถูกผนวกเข้ากับสันนิบาตบอลข่าน ยกเว้นอัลเบเนีย
* จักรวรรดิออตโตมันผนวก[[เกาะครีต]] ขณะที่ปล่อยให้มหาอำนาจพิจารณาชาตะกรรมของหมู่เกาะอื่นในทะเลอีเจียน
* ชายแดนของอัลเบเนียและปัญหาอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับอัลเบเนียจะถูกตกลงโดยมหาอำนาจ
* ไม่มีการตัดสินใจชัดเจนที่ดำเนินการเกี่ยวกับดินแดนที่ผนวกเข้ากับสันนิบาตบอลข่าน

จากจุดอ่อนของสนธิสัญญาลอนดอน สงครามบอลข่านครั้งที่สองจึงปะทุขึ้นในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1913 การตกลงสันติภาพสุดท้ายได้ข้อสรุปเป็นสนธิสัญญาบูคาเรสต์ในวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ. 1913

การลากพรมแดนที่แน่ชัดของรัฐอัลเบเนียตามพิธีสารฟลอเรนซ์ (17 ธันวาคม ค.ศ. 1913) ไม่ได้รับความนิยมอย่างมากในหมู่ประชากรกรีกท้องถิ่นที่อยู่ทางตอนใต้ของอัลเบเนีย ผู้ซึ่งหลังจากปฏิวัติแล้ว ก็ประกาศตนเองเป็นสาธารณรัฐปกครองตนเองอิไพรัสเหนือ ซึ่งได้รับการยอมรับจากนานาชาติเป็นแคว้นปกครองตนเองภายในรัฐอัลเบเนียภายใต้เงื่อนไขของพิธีสารคอร์ฟู<ref>{{cite book |last=Stickney |first=Edith Pierpont |title=Southern Albania or Northern Epirus in European International Affairs, 1912–1923 |publisher=Stanford University Press |year=1926 |isbn=9780804761710 |url=http://books.google.com/books?hl=el&id=n4ymAAAAIAAJ&q=%22By+the+terms+of+the+agreement+of+Corfu+the+Epirotes+obtained+the+autonomy+for+which+they+had+struggled%22#v=snippet&q=%22By%20the%20terms%20of%20the%20agreement%20of%20Corfu%20the%20Epirotes%20obtained%20the%20autonomy%20for%20which%20they%20had%20struggled%22&f=false |page= 49 |quote= By the terms of the agreement of Corfu the Epirotes obtained the autonomy for which they had struggled}}</ref>

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.mtholyoke.edu/acad/intrel/boshtml/bos145.htm Chronology of the 1913 London Peace Conference]

[[หมวดหมู่:สนธิสัญญาในคริสต์ศตวรรษที่ 20]]
[[หมวดหมู่:สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับสหราชอาณาจักร]]
[[หมวดหมู่:สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับจักรวรรดิเยอรมัน]]
[[หมวดหมู่:สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับจักรวรรดิรัสเซีย]]
[[หมวดหมู่:สนธิสัญญาเกี่ยวข้องกับจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี]]
[[หมวดหมู่:พ.ศ. 2456]]


[[bg:Лондонски мирен договор]]
[[bg:Лондонски мирен договор]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:16, 20 สิงหาคม 2554

สนธิสัญญาลอนดอน ลงนามเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม ระหว่างการประชุมลอนดอน ค.ศ. 1913 ว่าด้วยการปรับแก้ดินแดนอันเป็นผลมาจากการสิ้นสุดสงครามบอลข่านครั้งที่หนึ่ง

ประวัติ

คู่เจรจามีทั้งสันนิบาตบอลข่าน (เซอร์เบีย กรีซ ราชอาณาจักรบัลแกเรีย และมอนเตเนโกร) ที่เป็นฝ่ายชนะ และจักรวรรดิออตโตมันที่เป็นฝ่ายแพ้ ชาติมหาอำนาจมีอังกฤษ เยอรมนี รัสเซีย ออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลีเป็นตัวแทน

ความเป็นปรปักษ์สิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม ค.ศ. 1912 จุดสำคัญสามจุดที่ยังพิพาทกันอยู่ คือ

  • สถานะของดินแดนซึ่งปัจจุบันคือ อัลเบเนีย ส่วนใหญ่ถูกรุกล้ำโดยเซอร์เบีย มอนเตเนโกรและกรีซ
  • สถานะของซันจักโนวีปาซาร์ (Sanjak of Novi Pazar) ซึ่งอยู่ภายใต้การคุ้มครองของออสเตรีย-ฮังการีอย่างเป็นทางการ นับแต่สนธิสัญญาเบอร์ลินใน ค.ศ. 1878
  • สถานะของดินแดนอื่นที่ถูกยึดครองโดยสัมพันธมิตร ได้แก่ คอซอวอ มาเซโดเนียและเธรซ

สนธิสัญญาดังกล่าวมีการเจรจาในกรุงลอนดอน ที่การประชุมระหว่างประเทศซึ่งเปิดตั้งแต่เดือนธันวาคม ค.ศ. 1912 หลังอัลเบเนียประกาศเอกราชเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1912

ออสเตรีย-ฮังการีและอิตาลีสนับสนุนการสถาปนาอัลเบเนียที่เป็นเอกราชอย่างแข็งขัน ซึ่งบางส่วนเป็นเพราะต้องกับนโยบายที่แล้วมาของออสเตรีย-ฮังการีที่สกัดกั้นการขยายตัวของเซอร์บไปสู่ทะเลเอเดรียติก อิตาลีหมายปองดินแดนดังกล่าว ซึ่งปรากฎออกมาใน ค.ศ. 1939 รัสเซียสนับสนุนเซอร์เบียและมอนเตเนโกร เยอรมนีและอังกฤษวางตัวเป็นกลาง สมดุลแห่งอำนาจปะทะกันระหว่างสมาชิกสันนิบาตอาหรับซึ่งถือว่าอัลเบเนียจะเป็นดินแดนยึดครองที่จะถูกแบ่งปันกันระหว่างประเทศทั้งหลาย

เงื่อนไข

เงื่อนไขที่บังคับใช้โดยมหาอำนาจ มีดังนี้[1]

  • ดินแดนยุโรปทั้งหมดของจักรวรรดิออตโตมันทางตะวันตกของเส้นระหว่าง Enez บนทะเลอีเีจียน และ Midia บนทะเลดำ จะถูกผนวกเข้ากับสันนิบาตบอลข่าน ยกเว้นอัลเบเนีย
  • จักรวรรดิออตโตมันผนวกเกาะครีต ขณะที่ปล่อยให้มหาอำนาจพิจารณาชาตะกรรมของหมู่เกาะอื่นในทะเลอีเจียน
  • ชายแดนของอัลเบเนียและปัญหาอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับอัลเบเนียจะถูกตกลงโดยมหาอำนาจ
  • ไม่มีการตัดสินใจชัดเจนที่ดำเนินการเกี่ยวกับดินแดนที่ผนวกเข้ากับสันนิบาตบอลข่าน

จากจุดอ่อนของสนธิสัญญาลอนดอน สงครามบอลข่านครั้งที่สองจึงปะทุขึ้นในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1913 การตกลงสันติภาพสุดท้ายได้ข้อสรุปเป็นสนธิสัญญาบูคาเรสต์ในวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ. 1913

การลากพรมแดนที่แน่ชัดของรัฐอัลเบเนียตามพิธีสารฟลอเรนซ์ (17 ธันวาคม ค.ศ. 1913) ไม่ได้รับความนิยมอย่างมากในหมู่ประชากรกรีกท้องถิ่นที่อยู่ทางตอนใต้ของอัลเบเนีย ผู้ซึ่งหลังจากปฏิวัติแล้ว ก็ประกาศตนเองเป็นสาธารณรัฐปกครองตนเองอิไพรัสเหนือ ซึ่งได้รับการยอมรับจากนานาชาติเป็นแคว้นปกครองตนเองภายในรัฐอัลเบเนียภายใต้เงื่อนไขของพิธีสารคอร์ฟู[2]

อ้างอิง

  1. (HIS,P) Treaty of Peace between Greece, Bulgaria, Montenegro, Serbia on the one part and Turkey on the other part. (London) May 17/30, 1913
  2. Stickney, Edith Pierpont (1926). Southern Albania or Northern Epirus in European International Affairs, 1912–1923. Stanford University Press. p. 49. ISBN 9780804761710. By the terms of the agreement of Corfu the Epirotes obtained the autonomy for which they had struggled

แหล่งข้อมูลอื่น