ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศโบลิเวีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Khaokor (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
รัฐพหุชาติโบลิเวีย → รัฐพหุชนชาติโบลิเวีย
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล ประเทศ
{{กล่องข้อมูล ประเทศ
| native_name = Estado Plurinacional de Bolivia {{es icon}}<br />Bulibiya Mamallaqta (เกชัว)<br />Wuliwya suyu (ไอย์มารา)
| native_name = Estado Plurinacional de Bolivia {{es icon}}<br />Bulibiya Mamallaqta (เกชัว)<br />Wuliwya suyu (ไอย์มารา)
| conventional_long_name = รัฐพหุชาติโบลิเวีย
| conventional_long_name = รัฐพหุชนชาติโบลิเวีย
| common_name = โบลิเวีย
| common_name = โบลิเวีย
| image_flag = Flag of Bolivia.svg
| image_flag = Flag of Bolivia.svg
บรรทัด 47: บรรทัด 47:
| calling_code = 591
| calling_code = 591
}}
}}
'''ประเทศโบลิเวีย''' หรือ '''รัฐพหุชาติโบลิเวีย''' ({{Lang-es|''Estado Plurinacional de Bolivia''}}) เป็น[[ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล]]ในตอนกลางของ[[ทวีปอเมริกาใต้]] มีอาณาเขตจรด[[ประเทศบราซิล]]ทางทิศเหนือและทิศตะวันออก จรด[[ประเทศปารากวัย]]และ[[ประเทศอาร์เจนตินา|อาร์เจนตินา]]ทางทิศใต้ และจรด[[ประเทศชิลี]]และ[[ประเทศเปรู|เปรู]]ทางทิศตะวันตก
'''ประเทศโบลิเวีย''' หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า '''รัฐพหุชนชาติโบลิเวีย'''<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/E/090/4.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็มประจำรัฐพหุชนชาติแห่งโบลิเวีย (นายกำธร สิทธิโชติ) ลงวันที่ 27 กรกฎาคม 2554] - ราชกิจจานุเบกษา (เล่ม 128/ตอนพิเศษ 90 ง/หน้า 4/14 สิงหาคม 2554).</ref> ({{Lang-es|''Estado Plurinacional de Bolivia''}}) เป็น[[ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล]]ในตอนกลางของ[[ทวีปอเมริกาใต้]] มีอาณาเขตจรด[[ประเทศบราซิล]]ทางทิศเหนือและทิศตะวันออก จรด[[ประเทศปารากวัย]]และ[[ประเทศอาร์เจนตินา|อาร์เจนตินา]]ทางทิศใต้ และจรด[[ประเทศชิลี]]และ[[ประเทศเปรู|เปรู]]ทางทิศตะวันตก


== ประวัติศาสตร์ ==
== ประวัติศาสตร์ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:29, 16 สิงหาคม 2554

รัฐพหุชนชาติโบลิเวีย

Estado Plurinacional de Bolivia (สเปน)
Bulibiya Mamallaqta (เกชัว)
Wuliwya suyu (ไอย์มารา)
คำขวัญ¡La unión es la fuerza!
("ความเป็นหนึ่งเดียวสร้างพลัง!")
ที่ตั้งของโบลิเวีย
เมืองหลวงซูเกร (ตามกฎหมาย),
ลาปาซ (ที่ตั้งรัฐบาล)
เมืองใหญ่สุดซานตากรุซเดลาเซียร์รา
ภาษาราชการภาษาสเปน ภาษาเกชัว ภาษาไอย์มารา
การปกครองสาธารณรัฐ
• ประธานาธิบดี
เอโบ โมราเลส
ได้รับเอกราช
• จาก สเปน
6 สิงหาคม พ.ศ. 2368
พื้นที่
• รวม
1,098,581 ตารางกิโลเมตร (424,164 ตารางไมล์) (27)
1.29%
ประชากร
• ก.ค. 2548 ประมาณ
9,182,000 (84)
• สำมะโนประชากร 2544
8,280,184
8 ต่อตารางกิโลเมตร (20.7 ต่อตารางไมล์) (177)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2549 (ประมาณ)
• รวม
8 พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐ (101)
2,817 ดอลลาร์สหรัฐ (125)
เอชดีไอ (2546)0.687
ปานกลาง · 113
สกุลเงินโบลีเบียโน (BOB)
เขตเวลาUTC-4 (—)
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)
UTC? (—)
รหัสโทรศัพท์591
โดเมนบนสุด.bo

ประเทศโบลิเวีย หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐพหุชนชาติโบลิเวีย[1] ([Estado Plurinacional de Bolivia] ข้อผิดพลาด: {{Lang-xx}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในตอนกลางของทวีปอเมริกาใต้ มีอาณาเขตจรดประเทศบราซิลทางทิศเหนือและทิศตะวันออก จรดประเทศปารากวัยและอาร์เจนตินาทางทิศใต้ และจรดประเทศชิลีและเปรูทางทิศตะวันตก

ประวัติศาสตร์

โบลิเวียเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล เดิมเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอินคา ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เมื่อสเปนเข้ามาครอบครองจักรวรรดิอินคาจึงตกเป็นอาณานิคมของสเปนด้วย โบลิเวียได้รับเอกราชจากสเปนในปี ค.ศ. 1825 และได้ตั้งชื่อประเทศตามชื่อของซีมอง โบลีวาร์ ผู้ซึ่งช่วยให้โบลิเวียเป็นประเทศเอกราชจากสเปน

การแบ่งเขตการปกครอง

แผนที่เขตการปกครองของโบลิเวีย
แผนที่เขตการปกครองของโบลิเวีย

โบลิเวียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 9 แคว้น ([departamentos] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) ชื่อเมืองหลวงอยู่ในวงเล็บ

แต่ละแคว้นแบ่งออกเป็นจังหวัด ([provincias] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ))

เมืองซูเกรเป็นเมืองหลวงตามกฎหมายและเป็นที่ตั้งของศาลยุติธรรม แต่เมืองที่เป็นศูนย์กลางการปกครอง คือ ลาปาซ

เศรษฐกิจ

โบลิเวียเป็นประเทศที่มีรายได้ต่อประชากรต่ำที่สุดในทวีปอเมริกาใต้ทั้ง ๆ ที่มีทรัพยากรธรรมชาติมากมาย จึงถูกเรียกว่าเป็น "ลาที่นั่งอยู่บนเหมืองทอง" สภาพเศรษฐกิจที่ตกต่ำของโบลิเวียมีสาเหตุมาจากปลายปัจจัย เช่น การที่ราคาดีบุกลดลงอย่างมากในช่วงต้นทศวรรษที่ 1980 ซึ่งส่งผลกระทบต่อรายได้หลักและอุตสาหกรรมเหมืองแร่ที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งของโบลิเวีย[2] และการที่สงครามเย็นจบลงในช่วงปลายทศวรรษที่ 1980 ทำให้ประเทศตะวันตกที่เคยสนับสนุนระบบตลาดเสรีนั้นต้องหยุดการให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจ

อ้างอิง

  1. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็มประจำรัฐพหุชนชาติแห่งโบลิเวีย (นายกำธร สิทธิโชติ) ลงวันที่ 27 กรกฎาคม 2554 - ราชกิจจานุเบกษา (เล่ม 128/ตอนพิเศษ 90 ง/หน้า 4/14 สิงหาคม 2554).
  2. Crabtree, J. (1988). "The Great Tin Crash: Bolivia and the World Tin Market". Bulletin of Latin American Research. 7 (1): 174–175. doi:10.2307/3338459. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)

แหล่งข้อมูลอื่น