ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟอราเมน แมกนัม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.4) (โรบอต แก้ไข: es:Foramen magno
FoxBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: tr:Foramen Magnum
บรรทัด 55: บรรทัด 55:
[[sk:Veľký otvor]]
[[sk:Veľký otvor]]
[[sv:Stora nackhålet]]
[[sv:Stora nackhålet]]
[[tr:Foramen Magnum]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:57, 31 กรกฎาคม 2554

ฟอราเมน แมกนัม
(Foramen magnum)
กระดูกท้ายทอย มุมมองจากด้านใน
ตัวระบุ
MeSHD005539
TA98A02.1.04.002
TA2553
FMA75306
ศัพท์ทางกายวิภาคของกระดูก

ฟอราเมน แมกนัม(Foramen Magnum, มาจากภาษาละติน แปลว่า รูขนาดใหญ่) ในทางกายวิภาคศาสตร์ เป็นช่องเปิดขนาดใหญ่รูปวงรีที่อยู่ที่ฐานของกะโหลกศีรษะ บนกระดูกท้ายทอย (อังกฤษ: Occipital Bone) ซึ่งเป็นทางผ่านของเมดัลลา ออบลองกาตา (อังกฤษ: Medulla Oblongata) ซึ่งติดต่อกับไขสันหลัง[ต้องการอ้างอิง]

นอกจากช่องนี้จะเป็นทางผ่านของเมดัลลา ออบลองกาตาแล้ว ยังเป็นทางผ่านของหลอดเลือดแดงเวอร์ทีบรัล (อังกฤษ: Vertebral Arteries) , หลอดเลือดแดงแอนทีเรียร์สไปนัล (อังกฤษ: Anterior Spinal Artery) , และหลอดเลือดแดงโพสทีเรียร์สไปนัล (อังกฤษ: Posterior Spinal Artery) , เยื่อคลุม (อังกฤษ: Membrana Tectoria) และเอ็นเอลาร์ (อังกฤษ: Alar Ligaments)

ความสำคัญ

ในมนุษย์ ช่องฟอราเมน แมกนัมจะอยู่ต่ำกว่าในเอปชนิดอื่นๆ ดังนั้นกล้ามเนื้อคอของมนุษย์จึงไม่ต้องมีความแข็งแรงมากเพื่อพยุงให้คอตั้งขึ้น การเปรียบเทียบตำแหน่งของช่องฟอราเมน แมกนัมในสิ่งมีชีวิตพวกโฮโมนิดจึงมีความสำคัญในการประเมินว่าลิงแต่ละชนิดจะมีความสะดวกในการเดิน 2 ข้างมากกว่า 4 ขาหรือไม่

ช่องฟอราเมน แมกนัมเป็นเขตแดนระหว่างสมองที่อยู่ด้านบน และไขสันหลังซึ่งอยู่ด้านล่าง

ภาพอื่นๆ

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น