ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทองอุไร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweethaも (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Automated text replacement (-เเ +แ)
Ptbotgourou (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.5) (โรบอต เพิ่ม: bn, de, en, es, fr, pt, qu, sv, to, zh-min-nan
บรรทัด 36: บรรทัด 36:
[[หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ]]
[[หมวดหมู่:ไม้ดอกไม้ประดับ]]
{{โครงพืช}}
{{โครงพืช}}

[[bn:চন্দ্রপ্রভা]]
[[de:Gelbe Trompetenblume]]
[[en:Tecoma stans]]
[[es:Tecoma stans]]
[[fr:Tecoma stans]]
[[pt:Tecoma stans]]
[[qu:Sawsaw]]
[[sv:Gul trumpetbuske]]
[[to:Piti]]
[[zh-min-nan:N̂g-cheng-hoe]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:44, 27 กรกฎาคม 2554

ทองอุไร
ไฟล์:Thongurai2.jpg
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: พืช (Plantae)
หมวด: พืชดอก (Magnoliophyta)
ชั้น: พืชใบเลี้ยงคู่ (Magnoliopsida)
อันดับ: แลเมียลิส (Lamiales)
วงศ์: วงศ์แคหางค่าง (Bignoniaceae)
สกุล: Tecoma
สปีชีส์: ทองอุไร T. stans
ชื่อทวินาม
Tecoma stans
(L.) Juss. ex Kunth
  • ชื่อวิทยาศาสตร์: Tecoma stans (L.) Juss. ex Kunth
  • ชื่อสามัญ: Yellow elder; Trumpetbush; Trumpetflower; Yellow trumpet-flower; Yellow trumpetbush
  • ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ:
  • ลักษณะ:ทองอุไรเป็นไม้พุ่มขนาดเล็กสูง 2-4 เมตร ลำต้นเล็ก แผ่กิ่งด้านบนเป็นพุ่มกลม โปร่ง
  • ใบ: ใบประกอบขนนกมีใบย่อย

ที่ปลายสุด จำนวน 7 - 11 ใบ สีเขียวอ่อน ขอบใบย่อยหยิกเป็นฟันเลื่อย ผิวสัมผัสละเอียด ลำต้นสีน้ำตาลนวลตลอด ทั้งต้น ก้านใบช่อดอกอ่อนเป็นสีเขียว

  • ดอก: ดอกสีเหลืองสด มีรูปลักษณ์คลายระฆัง หรือแตร หรือทรัมเป็ต

ออกดอกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ดอกดกมาก กลีบดอกติดกันเป็นรูปกรวยยาว 3 - 4 เซนติเมตร ปลายกลีบมี 5 กลีบ มีลักษณะกลมเป็นคลื่นเล็กน้อย กลีบเลี้ยงเป็นรูปกระดิ่งสีเหลือง แยก 5 แฉกกลีบดอกปลายแยก 5 กลีบรับกัน เกสรตัวผู้

  • การดูแล: เติบโตได้ดีในดินร่วนทุกชนิด ที่ความชื้นปานกลาง ระบายน้ำได้ดี แสงแดดจัดเต็มวัน

ทองอุไรดอกสีเหลืองสดใส ปลูกง่าย เกิดง่าย ในเขตร้อนทั่วไป ขอเพียงให้มีแดดเต็มที่มีน้ำเพียงพอ ทองอุไร จะให้ดอกพราวทั้งต้น สดสวยตลอดปี ไม่ควรปลูกในที่มีระดับน้ำใต้ดินสูง นิยมปลูกข้างถนน เกาะกลางถนน และเหมาะสำหรับปลูกมุมใดมุมหนึ่งของบ้านที่แดดถึง จะปลูกในกระถางไว้ที่ระเบียงบ้านก็ย่อมได้

  • การขยายพันธุ์: ขยายพันธุ์โดยการ เพาะเมล็ดและตอนกิ่ง
  • ประโยชน์:

อ้างอิง