ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทวัสนิยม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.4) (โรบอต เพิ่ม: kk:Деизм
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
[[หมวดหมู่:ความเชื่อ]]
[[หมวดหมู่:ความเชื่อ]]
{{โครงปรัชญา}}
{{โครงปรัชญา}}

[[af:Deïsme]]
[[af:Deïsme]]
[[ar:ربوبية]]
[[ar:ربوبية]]
[[arz:دييزم]]
[[az:Deizm]]
[[az:Deizm]]
[[bs:Deizam]]
[[bg:Деизъм]]
[[bg:Деизъм]]
[[bs:Deizam]]
[[ca:Deisme]]
[[ca:Deisme]]
[[cs:Deismus]]
[[cs:Deismus]]
[[da:Deisme]]
[[da:Deisme]]
[[de:Deismus]]
[[de:Deismus]]
[[el:Ντεϊσμός]]
[[en:Deism]]
[[en:Deism]]
[[et:Deism]]
[[el:Ντεϊσμός]]
[[es:Deísmo]]
[[eo:Diismo]]
[[eo:Diismo]]
[[es:Deísmo]]
[[et:Deism]]
[[fa:دادارباوری]]
[[fa:دادارباوری]]
[[fi:Deismi]]
[[fr:Déisme]]
[[fr:Déisme]]
[[fy:Deisme]]
[[fy:Deisme]]
[[gd:Deist]]
[[gd:Deist]]
[[ko:이신론]]
[[he:דאיזם]]
[[hr:Deizam]]
[[hr:Deizam]]
[[id:Deisme]]
[[hu:Deizmus]]
[[ia:Deismo]]
[[ia:Deismo]]
[[id:Deisme]]
[[is:Frumgyðistrú]]
[[is:Frumgyðistrú]]
[[it:Deismo]]
[[it:Deismo]]
[[he:דאיזם]]
[[ja:理神論]]
[[ka:დეიზმი]]
[[ka:დეიზმი]]
[[kk:Деизм]]
[[ko:이신론]]
[[lb:Deismus]]
[[lb:Deismus]]
[[lt:Deizmas]]
[[lt:Deizmas]]
[[hu:Deizmus]]
[[arz:دييزم]]
[[nl:Deïsme]]
[[nl:Deïsme]]
[[ja:理神論]]
[[nn:Deisme]]
[[no:Deisme]]
[[no:Deisme]]
[[nn:Deisme]]
[[oc:Deïsme]]
[[oc:Deïsme]]
[[uz:Deizm]]
[[pl:Deizm]]
[[pl:Deizm]]
[[pt:Deísmo]]
[[pt:Deísmo]]
บรรทัด 53: บรรทัด 55:
[[sl:Deizem]]
[[sl:Deizem]]
[[sr:Деизам]]
[[sr:Деизам]]
[[fi:Deismi]]
[[sv:Deism]]
[[sv:Deism]]
[[tl:Deismo]]
[[tl:Deismo]]
[[tr:Deizm]]
[[tr:Deizm]]
[[uk:Деїзм]]
[[uk:Деїзм]]
[[uz:Deizm]]
[[vi:Thuyết thần giáo tự nhiên]]
[[vi:Thuyết thần giáo tự nhiên]]
[[zh:自然神论]]
[[zh:自然神论]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:03, 22 กรกฎาคม 2554

เทวัสนิยม (อังกฤษ: deism) เป็นแนวความคิดที่สำคัญในศตวรรษที่ 18 โดยในศตวรรษที่ 17 เป็นยุคแห่งเหตุผล นักคิดทั้งหลายต่างพยายามที่จะสร้างระบบการวิเคราะห์แบบวิทยาศาสตร์ที่ได้ผลและสมเหตุสมผลขึ้น โดยไม่ยอมพึ่งพาอาศัยอำนาจเหนือธรรมชาติต่าง ๆ พระเจ้าเป็นเพียงผู้สร้างโลกเท่านั้น เราจะเห็นการแบ่งเป็นฝักฝ่ายระหว่างศาสนากับวิทยาศาสตร์ได้เกิดขึ้น พวกหัวเก่าโจมตีพวกหัวใหม่ว่าต่อไปนี้จะไม่มีอะไรที่ศักดิ์สิทธิ์หลงเหลืออยู่อีก การถกเถียงเป็นไปอย่างกว้างขวางอันเป็นเหตุให้เกิดความคิดแบบเทวัสนิยมขึ้นมา

พวกนี้เชื่อในพระเจ้าแต่ในขณะเดียวกันก็เชื่อมั่นในเหตุผลและคิดว่าจะสามารถใช้เหตุผลพิสูจน์ในเรื่องพระเจ้าได้ พวกนี้เชื่อต่อไปอีกว่าเหตุผลเท่านั้นที่จะช่วยให้เราเกิดความเข้าใจศาสนาและศีลธรรมอย่างถูกต้อง พวกนี้ถือว่าพระเจ้านั้นมีอยู่ ทว่าหลังจากที่ทรงสร้างโลกแล้วก็มิได้ลงมายุ่งเกี่ยวกับมนุษย์อีกเลย พวกนี้ยอมรับศาสนาในสมัยแรกเริ่ม แต่มักจะโจมตีศาสนาในระยะหลังที่มีพิธีการ มีพระเป็นผู้สืบศาสนา พวกนี้เชื่อว่ามนุษย์ทุกคนมีเหตุผลอยู่ในตัว เพียงแต่ว่าคนส่วนใหญ่ไม่สามารถจะบังคับในตัวเองให้ใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์ ทำให้พระเข้ามามีบทบาทได้ ทั้ง ๆ ที่แท้จริงแล้ว มนุษย์ทุกคนเข้าถึงและรู้เข้าใจเกี่ยวกับศาสนาเป็นอย่างดี

ตัวอย่างผู้มีความเชื่อแบบเทวัสนิยม ได้แก่ เบนจามิน แฟรงคลินและวอลแตร์