ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NongBot (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ข้อความ+หมวดหมู่
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสคริปต์จัดให้
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
'''ยานมาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Mars Reconnaissance Orbiter) หรือเอ็มอาร์โอ (MRO) เป็น[[ยานอวกาศ]]ของ[[องค์การนาซา]]ที่ส่งขึ้นจากพื้นโลกเมื่อวันที่ [[12 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2548]] มีเป้าหมายศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ[[ดาวอังคาร]]อย่างละเอียด ค้นหาจุดลงจอดที่เหมาะสมสำหรับยานอวกาศในอนาคต และทำหน้าที่รับ-ส่งสัญญาณวิทยุระหว่างยานกับโลกด้วยอัตราส่งข้อมูลที่สูงกว่ายานลำอื่น ๆ ภารกิจหลักของยานมีกำหนด 4 ปี โดยได้เริ่มเข้าสู่วงโคจรรอบดาวอังคารเมื่อวันที่ [[10 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2549]] ตามเวลาใน[[สหรัฐอเมริกา]] หรือตรงกับเช้ามืดวันที่ [[11 มีนาคม]] ตามเวลาใน[[ประเทศไทย]]
'''ยานมาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Mars Reconnaissance Orbiter) หรือเอ็มอาร์โอ (MRO) เป็น[[ยานอวกาศ]]ของ[[องค์การนาซา]]ที่ส่งขึ้นจากพื้นโลกเมื่อวันที่ [[12 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2548]] มีเป้าหมายศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับ[[ดาวอังคาร]]อย่างละเอียด ค้นหาจุดลงจอดที่เหมาะสมสำหรับยานอวกาศในอนาคต และทำหน้าที่รับ-ส่งสัญญาณวิทยุระหว่างยานกับโลกด้วยอัตราส่งข้อมูลที่สูงกว่ายานลำอื่น ๆ ภารกิจหลักของยานมีกำหนด 4 ปี โดยได้เริ่มเข้าสู่วงโคจรรอบดาวอังคารเมื่อวันที่ [[10 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2549]] ตามเวลาใน[[สหรัฐอเมริกา]] หรือตรงกับเช้ามืดวันที่ [[11 มีนาคม]] ตามเวลาใน[[ประเทศไทย]]


== แหล่งข้อมูลอื่น==
==ลิงก์ภายนอก==
*[http://www.nasa.gov/mission_pages/MRO/main/index.html เว็บไซต์ทางการที่นาซา]
* [http://www.nasa.gov/mission_pages/MRO/main/index.html เว็บไซต์ทางการที่นาซา]
*[http://marsprogram.jpl.nasa.gov/mro/ เว็บไซต์ทางการที่เจพีแอล]
* [http://marsprogram.jpl.nasa.gov/mro/ เว็บไซต์ทางการที่เจพีแอล]


{{โครงดาราศาสตร์}}
{{โครงดาราศาสตร์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:45, 19 ธันวาคม 2549

ภาพวาดยานในวงโคจรรอบดาวอังคาร

ยานมาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ (อังกฤษ: Mars Reconnaissance Orbiter) หรือเอ็มอาร์โอ (MRO) เป็นยานอวกาศขององค์การนาซาที่ส่งขึ้นจากพื้นโลกเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2548 มีเป้าหมายศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับดาวอังคารอย่างละเอียด ค้นหาจุดลงจอดที่เหมาะสมสำหรับยานอวกาศในอนาคต และทำหน้าที่รับ-ส่งสัญญาณวิทยุระหว่างยานกับโลกด้วยอัตราส่งข้อมูลที่สูงกว่ายานลำอื่น ๆ ภารกิจหลักของยานมีกำหนด 4 ปี โดยได้เริ่มเข้าสู่วงโคจรรอบดาวอังคารเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2549 ตามเวลาในสหรัฐอเมริกา หรือตรงกับเช้ามืดวันที่ 11 มีนาคม ตามเวลาในประเทศไทย

แหล่งข้อมูลอื่น