ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดิจีน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Renu (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมข้อมูลให้มากขึ้นตามตำราและสารคดีพระราชวังต้องห้าม
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Chinese Dragon Banner.svg|right|thumb|ตราประจำราชวงศ์ชิง]]
[[ไฟล์:Chinese Dragon Banner.svg|right|thumb|ตราประจำราชวงศ์ชิง]]
[[ไฟล์:1922 Puyi.jpg|right|thumb|พระบรมฉายาลักษณ์สมเด็จพระจักรพรรดิชิงผู่อี๋ฮ่องเต้ในปี ค.ศ. 1922]]
[[ไฟล์:1922 Puyi.jpg|right|thumb|พระบรมฉายาลักษณ์สมเด็จพระจักรพรรดิชิงผู่อี๋ในปี ค.ศ. 1922]]
'''จักรพรรดิจีน''' หรือเรียกว่า '''ฮ่องเต้ฮ่อกับฮ่องเต้ปลื้มและฮ่องเต้คิงส์''' หรือ '''หวงตี้''' ({{zh|c=皇帝|p=Huángdì}}) ผู้ที่สถาปนาตำแหน่งนี้ขึ้นมาคือ สมเด็จพระจักรพรรดิ[[จักรพรรดิฉินที่ 1|จิ๋นซีฮ่องเต้]]ซึ่งเป็นฮ่องเต้พระองค์แรก ก่อนสมัยราชวงศ์จิ๋นหรือฉิน ประเทศจีนได้ถูกแบ่งเป็นแว่นแคว้นต่างๆ มากมาย และแต่ละแคว้นจะมีผู้ปกครอง เรียกว่า '''[[อ๋อง]]''' ([[ภาษาจีน]]: 王 [[พินอิน]]: wáng) ซึ่งแปลว่า กษัตริย์
'''จักรพรรดิจีน''' หรือเรียกว่า '''ฮ่องเต้ฮ่อกับฮ่องเต้ปลื้มและฮ่องเต้คิงส์''' หรือ '''หวงตี้''' ({{zh|c=皇帝|p=Huángdì}}) ผู้ที่สถาปนาตำแหน่งนี้ขึ้นมาคือ สมเด็จพระจักรพรรดิ[[จักรพรรดิฉินที่ 1|จิ๋นซีฮ่องเต้]]ซึ่งเป็นฮ่องเต้พระองค์แรก ก่อนสมัยราชวงศ์จิ๋นหรือฉิน ประเทศจีนได้ถูกแบ่งเป็นแว่นแคว้นต่างๆ มากมาย และแต่ละแคว้นจะมีผู้ปกครอง เรียกว่า '''[[อ๋อง]]''' ([[ภาษาจีน]]: 王 [[พินอิน]]: wáng) ซึ่งแปลว่า กษัตริย์


ตั้งแต่สมัย[[ราชวงศ์ฉิน]] ฮ่องเต้ได้รับการเคารพดุจ[[โอรสสวรรค์]] คือเปรียบเสมือนได้รับอำนาจจากสวรรค์มาให้ปกครองประชาชน การสืบทอดตำแหน่งฮ่องเต้มักอยู่ในรูปแบบจากบิดาไปยังบุตร
ตั้งแต่สมัย[[ราชวงศ์ฉิน]] ฮ่องเต้ได้รับการเคารพดุจ[[โอรสสวรรค์]] คือเปรียบเสมือนได้รับอำนาจจากสวรรค์มาให้ปกครองประชาชน ตามหลักการ "สูงสุดโอรสสวรรค์ ล่างสุดนั้นประชาราษฎร"(最高的是天子,最低的是人民) การสืบทอดตำแหน่งฮ่องเต้มักอยู่ในรูปแบบจากบิดาไปยังบุตร


โดยคำว่า ฮ่องเต้ หรือ หวงตี้ ถ้าแปลตรงตัวจะสามารถแปลได้ว่า "เหลืองผู้ยิ่งใหญ่" (หวง - [[สีเหลือง]] ตี้ - ยิ่งใหญ่) โดยนำมาจากพระนามฮ่องเต้องค์แรกตามความเชื่อ คือ หวงตี้ (帝)
โดยคำว่า ฮ่องเต้ หรือ หวงตี้ ถ้าแปลตรงตัวจะสามารถแปลได้ว่า "ผู้ปกครองที่ยิ่งใหญ่" (หวง - ผู้ทรงศักดิ์/Imperial , ตี้ - ยิ่งใหญ่/Sovereign) โดยนำมาจากพระนามฮ่องเต้องค์แรก คือ ฉินซือหวงตี้ (秦始皇帝)


ฮ่องเต้พระองค์สุดท้ายของประเทศจีนคือ จักรพรรดิฮงเซี่ยน หรือ [[หยวน ซื่อไข่]] แต่ไม่ได้รับการยอมรับจากประชาชน แต่ฮ่องเต้พระองค์สุดท้ายที่ได้รับการยอมรับจากประชาชนคือ สมเด็จพระ[[จักรพรรดิผู่อี๋]] แห่ง [[ราชวงศ์ชิง]]
ฮ่องเต้พระองค์สุดท้ายของประเทศจีนคือ จักรพรรดิฮงเซี่ยน หรือ [[หยวน ซื่อไข่]] แต่ไม่ได้รับการยอมรับจากประชาชน แต่ฮ่องเต้พระองค์สุดท้ายที่ได้รับการยอมรับจากประชาชนคือ สมเด็จพระ[[จักรพรรดิผู่อี๋]] แห่ง [[ราชวงศ์ชิง]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:52, 15 มิถุนายน 2554

ตราประจำราชวงศ์ชิง
ไฟล์:1922 Puyi.jpg
พระบรมฉายาลักษณ์สมเด็จพระจักรพรรดิชิงผู่อี๋ในปี ค.ศ. 1922

จักรพรรดิจีน หรือเรียกว่า ฮ่องเต้ฮ่อกับฮ่องเต้ปลื้มและฮ่องเต้คิงส์ หรือ หวงตี้ (จีน: 皇帝; พินอิน: Huángdì) ผู้ที่สถาปนาตำแหน่งนี้ขึ้นมาคือ สมเด็จพระจักรพรรดิจิ๋นซีฮ่องเต้ซึ่งเป็นฮ่องเต้พระองค์แรก ก่อนสมัยราชวงศ์จิ๋นหรือฉิน ประเทศจีนได้ถูกแบ่งเป็นแว่นแคว้นต่างๆ มากมาย และแต่ละแคว้นจะมีผู้ปกครอง เรียกว่า อ๋อง (ภาษาจีน: 王 พินอิน: wáng) ซึ่งแปลว่า กษัตริย์

ตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฉิน ฮ่องเต้ได้รับการเคารพดุจโอรสสวรรค์ คือเปรียบเสมือนได้รับอำนาจจากสวรรค์มาให้ปกครองประชาชน ตามหลักการ "สูงสุดโอรสสวรรค์ ล่างสุดนั้นประชาราษฎร"(最高的是天子,最低的是人民) การสืบทอดตำแหน่งฮ่องเต้มักอยู่ในรูปแบบจากบิดาไปยังบุตร

โดยคำว่า ฮ่องเต้ หรือ หวงตี้ ถ้าแปลตรงตัวจะสามารถแปลได้ว่า "ผู้ปกครองที่ยิ่งใหญ่" (หวง 皇 - ผู้ทรงศักดิ์/Imperial , ตี้ 帝 - ยิ่งใหญ่/Sovereign) โดยนำมาจากพระนามฮ่องเต้องค์แรก คือ ฉินซือหวงตี้ (秦始皇帝)

ฮ่องเต้พระองค์สุดท้ายของประเทศจีนคือ จักรพรรดิฮงเซี่ยน หรือ หยวน ซื่อไข่ แต่ไม่ได้รับการยอมรับจากประชาชน แต่ฮ่องเต้พระองค์สุดท้ายที่ได้รับการยอมรับจากประชาชนคือ สมเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ แห่ง ราชวงศ์ชิง

ดูเพิ่ม