ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บริการกระจายสัญญาณแบบหลายจุดหลายช่อง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ca:Banda Ku
Taweethaも (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Automated text replacement (-เเ +แ)
บรรทัด 5: บรรทัด 5:


== เทคโนโลยี ==
== เทคโนโลยี ==
คลื่น MMDS ใช้ความถี่ของไมโครเวฟ ระยะตั้งแต่ 2 GHz จนถึง 3 GHz การรับสัญญาณคลื่นโทรทัศน์นั้นทำได้โดยใช้เสาไมโครเวฟแบบพิเศษที่ติดอยู่บนหลังคา และใช้กล่องรับสัญญาณสำหรับโทรทัศน์ เพื่อรับสัญญาณ โดยกล่องรับสัญญาณนั้นมีรูปแบบคล้ายกับกล่องรับสัญญาณเคเบิลอนาล็อกทั่วไป เละยังเป็นรูบแบบที่นิยมกันอย่างเเพร่หลายในปัจจุบันอีกด้วย ตัวอย่างที่ยกมาง่ายๆ คือ จานดาวเทียวที่มีลิขสิทธ์ ( UBC )
คลื่น MMDS ใช้ความถี่ของไมโครเวฟ ระยะตั้งแต่ 2 GHz จนถึง 3 GHz การรับสัญญาณคลื่นโทรทัศน์นั้นทำได้โดยใช้เสาไมโครเวฟแบบพิเศษที่ติดอยู่บนหลังคา และใช้กล่องรับสัญญาณสำหรับโทรทัศน์ เพื่อรับสัญญาณ โดยกล่องรับสัญญาณนั้นมีรูปแบบคล้ายกับกล่องรับสัญญาณเคเบิลอนาล็อกทั่วไป เละยังเป็นรูบแบบที่นิยมกันอย่างแพร่หลายในปัจจุบันอีกด้วย ตัวอย่างที่ยกมาง่ายๆ คือ จานดาวเทียวที่มีลิขสิทธ์ ( UBC )





รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:31, 13 พฤษภาคม 2554

ภาพจานไมโครเวฟ MMDS

บริการกระจายสัญญาณแบบหลายจุดหลายช่อง (อังกฤษ: Multichannel multipoint distribution service) หรือรู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า MMDS หรือ Wireless Cable, เป็นเทคโนโลยีทางการสื่อสารแบบไร้สาย มีเป้าหมายสำหรับบริการเครือข่ายบรอดแบนด์ หรือเป็นที่รู้จักกันว่าเป็นวิธีการรับสัญญาณโทรทัศน์เคเบิลทางเลือกหนึ่ง MMDS นั้นมีการใช้งานในประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศอื่นๆ ทั่วโลก รวมถึง แคนาดา เม็กซิโก ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ บราซิล บาร์เบโดส ออสเตรเลีย ไนจีเรีย ปากีสถาน ศรีลังกา ไทย อุรุกวัย อินเดีย และเวียดนาม โดยส่วนใหญ่แล้วมีการใช้บริการในบริเวณชนบทที่มีประชากรเบาบาง ซึ่งธุรกิจเคเบิลต่อสายไม่สามารถเติบโตได้

เทคโนโลยี

คลื่น MMDS ใช้ความถี่ของไมโครเวฟ ระยะตั้งแต่ 2 GHz จนถึง 3 GHz การรับสัญญาณคลื่นโทรทัศน์นั้นทำได้โดยใช้เสาไมโครเวฟแบบพิเศษที่ติดอยู่บนหลังคา และใช้กล่องรับสัญญาณสำหรับโทรทัศน์ เพื่อรับสัญญาณ โดยกล่องรับสัญญาณนั้นมีรูปแบบคล้ายกับกล่องรับสัญญาณเคเบิลอนาล็อกทั่วไป เละยังเป็นรูบแบบที่นิยมกันอย่างแพร่หลายในปัจจุบันอีกด้วย ตัวอย่างที่ยกมาง่ายๆ คือ จานดาวเทียวที่มีลิขสิทธ์ ( UBC )


แหล่งข้อมูลอื่น