ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รีวโนซูเกะ อากูตางาวะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: no:Ryunosuke Akutagawa
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Kikuchi Kan,Akutagawa Ryunosuke,and so on.jpg|200px|thumb|ภาพริวโนะซึเกะ คนที่สองจากซ้ายมือ]]
[[ไฟล์:Kikuchi Kan,Akutagawa Ryunosuke,and so on.jpg|200px|thumb|ภาพริวโนะซึเกะ คนที่สองจากซ้ายมือ]]


'''ริวโนซุเกะ อะคุตะกะวา''' (芥川 龍之介 - [[โรมะจิ]]: akutagawa ryūnosuke) นักเขียนและกวี[[ชาวญี่ปุ่น]] เกิดที่เมือง[[โตเกียว]]เมื่อปี พ.ศ. 2435 (ค.ศ. 1892) และฆ่าตัวตายด้วยการกิน[[ยา]]เกินขนาดเมื่อปี พ.ศ. 2470 (ค.ศ 1927) ขณะมีอายุสามสิบห้าปี ถึงแม้จะอายุสั้น ทั้งมีโรคประจำตัวหลายอย่างรวมถึงโรคประสาทเปลี้ย แต่ริวโนสุเกะ อะคุตะกะวาก็สร้างผลงานไว้มากมายประมาณ 140 เรื่อง ส่วนใหญ่เป็น[[เรื่องสั้น]]และ[[นิยายขนาดสั้น]] (รวมถึงเรื่อง ราโชมอน (Rashomon) ค.ศ. 1915 อันมีชื่อเสียงโด่งดัง ต่อมานำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ชื่อก้องโดย[[คุโรซาวา]])แต่ไม่มีผลงานที่เป็น[[นวนิยาย]]เรื่องยาว มารดาของริวโนสุเกะ อะคุตะกะวาวิกลจริตและเสียชีวิตขณะที่เขายังเล็ก ลุงผู้เป็นเจ้าของนามสกุลที่เขาใช้รับเขาไปเลี้ยง เขาเข้าศึกษาด้านวรรณคดีที่[[มหาวิทยาลัยโตเกียว อิมพีเรียล]] และจบการศึกษาในปี 1916 เขาแต่งงานสองปีหลังจากนั้น มีบุตรชายสามคนและทำงานเป็นครูสอน[[ภาษาอังกฤษ]] ต่อมาได้เดินทางไปประเทศ[[ประเทศจีน|จีน]]และ[[รัสเซีย]] กล่าวกันว่างานเขียนของริวโนสุเกะ อะคุตะกะวา เป็นการนำประเพณีและตำนานของเอเชียมาตีความใหม่ได้อย่างมีชั้นเชิงยอดเยี่ยม โดดเด่นด้วยการผสมผสานอย่างล้ำลึกกับความคิดตะวันตกและเทคนิคทาง[[วรรณกรรม]]
'''ริวโนซุเกะ อะคุตะกะวา''' {{nihongo|芥川 龍之介||Akutagawa Ryūnosuke|อะคุทะงะวะ ริวโนะสุเกะ) นักเขียนและกวี[[ชาวญี่ปุ่น]] เกิดที่เมือง[[โตเกียว]]เมื่อปี พ.ศ. 2435 (ค.ศ. 1892) และฆ่าตัวตายด้วยการกิน[[ยา]]เกินขนาดเมื่อปี พ.ศ. 2470 (ค.ศ 1927) ขณะมีอายุสามสิบห้าปี ถึงแม้จะอายุสั้น ทั้งมีโรคประจำตัวหลายอย่างรวมถึงโรคประสาทเปลี้ย แต่ริวโนสุเกะ อะคุตะกะวาก็สร้างผลงานไว้มากมายประมาณ 140 เรื่อง ส่วนใหญ่เป็น[[เรื่องสั้น]]และ[[นิยายขนาดสั้น]] (รวมถึงเรื่อง ราโชมอน (Rashomon) ค.ศ. 1915 อันมีชื่อเสียงโด่งดัง ต่อมานำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ชื่อก้องโดย[[คุโรซาวา]])แต่ไม่มีผลงานที่เป็น[[นวนิยาย]]เรื่องยาว มารดาของริวโนสุเกะ อะคุตะกะวาวิกลจริตและเสียชีวิตขณะที่เขายังเล็ก ลุงผู้เป็นเจ้าของนามสกุลที่เขาใช้รับเขาไปเลี้ยง เขาเข้าศึกษาด้านวรรณคดีที่[[มหาวิทยาลัยโตเกียว อิมพีเรียล]] และจบการศึกษาในปี 1916 เขาแต่งงานสองปีหลังจากนั้น มีบุตรชายสามคนและทำงานเป็นครูสอน[[ภาษาอังกฤษ]] ต่อมาได้เดินทางไปประเทศ[[ประเทศจีน|จีน]]และ[[รัสเซีย]] กล่าวกันว่างานเขียนของริวโนสุเกะ อะคุตะกะวา เป็นการนำประเพณีและตำนานของเอเชียมาตีความใหม่ได้อย่างมีชั้นเชิงยอดเยี่ยม โดดเด่นด้วยการผสมผสานอย่างล้ำลึกกับความคิดตะวันตกและเทคนิคทาง[[วรรณกรรม]]


คำคม : ''Human life is more hell than the hell itself (ชีวิตมนุษย์มันนรกยิ่งกว่านรกเองเสียอีก)''
คำคม : ''Human life is more hell than the hell itself (ชีวิตมนุษย์มันนรกยิ่งกว่านรกเองเสียอีก)''

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:27, 12 พฤษภาคม 2554

ภาพริวโนะซึเกะ คนที่สองจากซ้ายมือ

ริวโนซุเกะ อะคุตะกะวา {{nihongo|芥川 龍之介||Akutagawa Ryūnosuke|อะคุทะงะวะ ริวโนะสุเกะ) นักเขียนและกวีชาวญี่ปุ่น เกิดที่เมืองโตเกียวเมื่อปี พ.ศ. 2435 (ค.ศ. 1892) และฆ่าตัวตายด้วยการกินยาเกินขนาดเมื่อปี พ.ศ. 2470 (ค.ศ 1927) ขณะมีอายุสามสิบห้าปี ถึงแม้จะอายุสั้น ทั้งมีโรคประจำตัวหลายอย่างรวมถึงโรคประสาทเปลี้ย แต่ริวโนสุเกะ อะคุตะกะวาก็สร้างผลงานไว้มากมายประมาณ 140 เรื่อง ส่วนใหญ่เป็นเรื่องสั้นและนิยายขนาดสั้น (รวมถึงเรื่อง ราโชมอน (Rashomon) ค.ศ. 1915 อันมีชื่อเสียงโด่งดัง ต่อมานำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ชื่อก้องโดยคุโรซาวา)แต่ไม่มีผลงานที่เป็นนวนิยายเรื่องยาว มารดาของริวโนสุเกะ อะคุตะกะวาวิกลจริตและเสียชีวิตขณะที่เขายังเล็ก ลุงผู้เป็นเจ้าของนามสกุลที่เขาใช้รับเขาไปเลี้ยง เขาเข้าศึกษาด้านวรรณคดีที่มหาวิทยาลัยโตเกียว อิมพีเรียล และจบการศึกษาในปี 1916 เขาแต่งงานสองปีหลังจากนั้น มีบุตรชายสามคนและทำงานเป็นครูสอนภาษาอังกฤษ ต่อมาได้เดินทางไปประเทศจีนและรัสเซีย กล่าวกันว่างานเขียนของริวโนสุเกะ อะคุตะกะวา เป็นการนำประเพณีและตำนานของเอเชียมาตีความใหม่ได้อย่างมีชั้นเชิงยอดเยี่ยม โดดเด่นด้วยการผสมผสานอย่างล้ำลึกกับความคิดตะวันตกและเทคนิคทางวรรณกรรม

คำคม : Human life is more hell than the hell itself (ชีวิตมนุษย์มันนรกยิ่งกว่านรกเองเสียอีก)

ผลงาน

  • 老年 (โรเน็น) ค.ศ. 1914
  • 羅生門 (ราโชมอน) (ประตูผี) - Rashōmon ค.ศ. 1915
  • 鼻 (ฮานะ) - The Nose ค.ศ. 1916
  • 芋粥 (อิโมะกายุ) - Yam Gruel ค.ศ. 1916
  • 煙草と悪魔 (โทบะโกะโทะอาคุมะ) ค.ศ. 1916
  • 戯作三昧 (เกสะคุซันมาอิ) ค.ศ. 1917
  • 蜘蛛の糸 (คุโมะโนะอิโตะ) - The Spider’s Thread ค.ศ. 1918
  • 地獄変 (จิโกะคุเฮ็น) - Hell Screen ค.ศ. 1918
  • 邪宗門 (จาชูมอน) ค.ศ. 1918
  • 魔術 (มาจุทซึ) ค.ศ. 1919
  • 南京の基督 (นันคินโนะคิริซุโตะ) - Christ in Nanking ค.ศ. 1920
  • 杜子春 (โทชิชุน) - Tu Tze-chun ค.ศ. 1920
  • アグニの神 (อะงุนิโนะคามิ) ค.ศ. 1920
  • 藪の中 (ยาบุโนนากะ) - In a Grove ค.ศ. 1921
  • トロッコ (โทโรคโคะ) ค.ศ. 1922
  • 玄鶴山房 (เกนคะคุซันโบ) ค.ศ. 1927
  • 侏儒の言葉 (ชูจูโนะโคโตบะ) ค.ศ. 1927
  • 文芸的な、あまりに文芸的な (บันเกเตะกินะ, อะมะรินิบันเกเตะกินะ) ค.ศ. 1927
  • 河童 (คัปปะ) - Kappa ค.ศ. 1927
  • 歯車 (ฮะงะรุมะ) - Cogwheel ค.ศ. 1927
  • 或る阿呆の一生 (อะรุอะโฮโนะอิโช) - A Fool's Life ค.ศ. 1927
  • 西方の人 (เซโฮโนะฮิโตะ) - The Man of the West ค.ศ. 1927

ผลงานที่แปลเป็นภาษาไทย