ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แก๊สธรรมชาติ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rattakorn c (คุย | ส่วนร่วม)
ก๊าซธรรมชาติ ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น แก๊สธรรมชาติ ทับหน้าเปลี่ยนทาง: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิ...
Rattakorn c (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มอ้างอิง
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''ก๊าซธรรมชาติ''' เป็นสารประกอบ[[ไฮโดรคาร์บอน]]ชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วย[[ไฮโดรเจน]]และ[[คาร์บอน]]ที่เกิดจากการทับถมของซากพืชซากสัตว์ประเภทจุลินทรีย์ที่มีอายุหลายร้อยล้านปี ซึ่งสามารถแยกส่วนประกอบได้ เป็น[[มีเทน]] [[อีเทน]] [[โพรเพน]] [[บิวเทน]] [[เพนเทน]] เป็นต้น หรือ หมายถึง ปิโตรเลียมที่มีสภาพเป็นแก๊ส ณ ที่อุณหภมูและความดันมาตรฐาน 15.6เซลเซียส และ 101 กิโลปาสคาล
'''แก๊สธรรมชาติ'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน] natural gas</ref> เป็นสารประกอบ[[ไฮโดรคาร์บอน]]ชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วย[[ไฮโดรเจน]]และ[[คาร์บอน]]ที่เกิดจากการทับถมของซากพืชซากสัตว์ประเภทจุลินทรีย์ที่มีอายุหลายร้อยล้านปี ซึ่งสามารถแยกส่วนประกอบได้ เป็น[[มีเทน]] [[อีเทน]] [[โพรเพน]] [[บิวเทน]] [[เพนเทน]] เป็นต้น หรือ หมายถึง ปิโตรเลียมที่มีสภาพเป็นแก๊ส ณ ที่อุณหภมูและความดันมาตรฐาน 15.6เซลเซียส และ 101 กิโลปาสคาล


โดยในแหล่งธรรมชาติอาจมีเฉพาะ มีเทน หรือ อีเทน ล้วนๆ หรืออาจ เจือปนโพรเพน และบิวเทนในบางแหล่ง ซึ่งถ้าแยกโพรเพน และบิวเทน ออกมาบรรจุลงในถังก๊าซ เรียกว่า [[ก๊าซปิโตรเลียมเหลว]] (Liquefied Petroleum Gas) หรือ LPG หรือ [[ก๊าซหุงต้ม]]
โดยในแหล่งธรรมชาติอาจมีเฉพาะ มีเทน หรือ อีเทน ล้วนๆ หรืออาจ เจือปนโพรเพน และบิวเทนในบางแหล่ง ซึ่งถ้าแยกโพรเพน และบิวเทน ออกมาบรรจุลงในถังแก๊ส เรียกว่า [[แก๊สปิโตรเลียมเหลว]] (Liquefied Petroleum Gas) หรือ LPG หรือ [[แก๊สหุงต้ม]]


ก๊าซธรรมชาติไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีสารพิษ ถือว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยสูงสุดผลิตภัณฑ์หนึ่งในปัจจุบัน เมื่อเผาไหม้แล้วจะเป็นเชื้อเพลิงสะอาดและส่งผลกระทบแก่[[สิ่งแวดล้อม]]น้อยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับ[[น้ำมันเตา]]และ[[ก๊าซหุงต้ม]] ด้วยเหตุนี้อารยะประเทศจึงนิยมใช้ก๊าซธรรมชาติมาอย่างยาวนาน
แก๊สธรรมชาติไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีสารพิษ ถือว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยสูงสุดผลิตภัณฑ์หนึ่งในปัจจุบัน เมื่อเผาไหม้แล้วจะเป็นเชื้อเพลิงสะอาดและส่งผลกระทบแก่[[สิ่งแวดล้อม]]น้อยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับ[[น้ำมันเตา]]และ[[แก๊สหุงต้ม]] ด้วยเหตุนี้อารยะประเทศจึงนิยมใช้แก๊สธรรมชาติมาอย่างยาวนาน


โดยทั่วไปสามารถแบ่งออกตามสมบัติทางเทคนิคได้ 4 ประเภท ดังนี้
โดยทั่วไปสามารถแบ่งออกตามสมบัติทางเทคนิคได้ 4 ประเภท ดังนี้
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
'''4. Wet gas''' หมายถึง แก๊สธรรมชาติที่มีส่วนประกอบหลักเป็นพวกแก๊สธรมชาติเหลว ได้แก่ propane, butane, pentane และ hexane แกีสเหล่านี้จะกลายเป็นของเหลวได้ง่ายที่อุณหภูมิต่ำและความดันสูง ทำให้เกิดปญหาในการขนส่ง
'''4. Wet gas''' หมายถึง แก๊สธรรมชาติที่มีส่วนประกอบหลักเป็นพวกแก๊สธรมชาติเหลว ได้แก่ propane, butane, pentane และ hexane แกีสเหล่านี้จะกลายเป็นของเหลวได้ง่ายที่อุณหภูมิต่ำและความดันสูง ทำให้เกิดปญหาในการขนส่ง


ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงฟอสซิลที่สำคัญในลำดับต้นๆ ในโลกปัจจุบันและถือเป็นเชื้อเพลิงที่ปลอดภัย และสะอาด ซึ่งโดยธรรมชาติ ไม่มีสี และไม่มีกลิ่น และไม่มีรูปแบบ ก๊าซธรรมชาติมีสัดส่วนทั่วไปดังนี้
แก๊สธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงฟอสซิลที่สำคัญในลำดับต้นๆ ในโลกปัจจุบันและถือเป็นเชื้อเพลิงที่ปลอดภัย และสะอาด ซึ่งโดยธรรมชาติ ไม่มีสี และไม่มีกลิ่น และไม่มีรูปแบบ แก๊สธรรมชาติมีสัดส่วนทั่วไปดังนี้
{| class="wikitable"
{| class="wikitable"
|-
|-
! ชื่อ
! ชื่อ
! สูตรเคมี
! สูตรเคมี
! สัดส่วนในก๊าซธรรมชาติ
! สัดส่วนในแก๊สธรรมชาติ
|-
|-
| Methane มีเทน
| Methane มีเทน
บรรทัด 53: บรรทัด 53:
| 0 - 5%
| 0 - 5%
|-
|-
| ก๊าซอื่นๆ
| แก๊สอื่นๆ
| Ar,He,Ne,Xe
| Ar,He,Ne,Xe
| เล็กน้อย
| เล็กน้อย
|}
|}

== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[คอนเดนเซท]]
* [[คอนเดนเซท]]

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==


* [http://www.pttplc.com/th/ptt_core.asp?page=ps_pr_fu_ga เว็บไซต์ข้อมูลและการเปรียบเทียบก๊าซธรรมชาติ ของ ปตท.]
* [http://www.pttplc.com/th/ptt_core.asp?page=ps_pr_fu_ga เว็บไซต์ข้อมูลและการเปรียบเทียบแก๊สธรรมชาติ ของ ปตท.]
* [http://www.thaipetroluem.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=442374 ก๊าซธรรมชาติ โดย www.thaipetroluem.com]
* [http://www.thaipetroluem.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=442374 แก๊สธรรมชาติ โดย www.thaipetroluem.com]


[[หมวดหมู่:ก๊าซธรรมชาติ| ]]
[[หมวดหมู่:แก๊สธรรมชาติ| ]]
{{โครงวิทยาศาสตร์}}
{{โครงวิทยาศาสตร์}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:24, 5 พฤษภาคม 2554

แก๊สธรรมชาติ[1] เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วยไฮโดรเจนและคาร์บอนที่เกิดจากการทับถมของซากพืชซากสัตว์ประเภทจุลินทรีย์ที่มีอายุหลายร้อยล้านปี ซึ่งสามารถแยกส่วนประกอบได้ เป็นมีเทน อีเทน โพรเพน บิวเทน เพนเทน เป็นต้น หรือ หมายถึง ปิโตรเลียมที่มีสภาพเป็นแก๊ส ณ ที่อุณหภมูและความดันมาตรฐาน 15.6เซลเซียส และ 101 กิโลปาสคาล

โดยในแหล่งธรรมชาติอาจมีเฉพาะ มีเทน หรือ อีเทน ล้วนๆ หรืออาจ เจือปนโพรเพน และบิวเทนในบางแหล่ง ซึ่งถ้าแยกโพรเพน และบิวเทน ออกมาบรรจุลงในถังแก๊ส เรียกว่า แก๊สปิโตรเลียมเหลว (Liquefied Petroleum Gas) หรือ LPG หรือ แก๊สหุงต้ม

แก๊สธรรมชาติไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีสารพิษ ถือว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยสูงสุดผลิตภัณฑ์หนึ่งในปัจจุบัน เมื่อเผาไหม้แล้วจะเป็นเชื้อเพลิงสะอาดและส่งผลกระทบแก่สิ่งแวดล้อมน้อยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับน้ำมันเตาและแก๊สหุงต้ม ด้วยเหตุนี้อารยะประเทศจึงนิยมใช้แก๊สธรรมชาติมาอย่างยาวนาน

โดยทั่วไปสามารถแบ่งออกตามสมบัติทางเทคนิคได้ 4 ประเภท ดังนี้

1. Sweet gas หมายถึง แก๊สที่มีปฏิกิริยาเป็นกลางต่อกระดาษ pH ที่เปียกน้ำ โดยมีแก๊สมีเทนเป็นส่วนประกอบหลัก ซึ่งเป็นแก๊สไฮโดรคาร์บอนที่มีน้ำหนักเบาที่สุด และอาจพบ ethane, propaneและ pentane ปะปนอยู่บ้าง

2. Sour gas หมายถึง แก๊สธรรมชาติที่มีแก๊สซัลฟูริคปะปนอยู่สูง ทำให้เกิดสภาพที่เป็นกรดขึ้น สามารถตรวจสอบได้โดยใช้กระดาษ pH ที่เปียกน้ำ ถ้ามีไฮโดรเจนซัฟด์ปะปนอยู่สูง อาจทำให้แก๊สนั้นมีพิษได้ ดังนั้นจึงต้องกำจัดไฮโดรเจนวัลไฟด์ก่อนส่งไปยังที่อื่น

3. Dry gas หมายถึงแก๊สธรรมชาติที่ไม่มีส่วนผสมของแก๊สธรรมชาติเหลว (condnsate) มีแต่แก๊สมีเทนเกือบร้อยเปอร์เซนต์ ทำให้มีราคาสูงกว่าแก๊สธรรมชาติชนิดอื่นๆ

4. Wet gas หมายถึง แก๊สธรรมชาติที่มีส่วนประกอบหลักเป็นพวกแก๊สธรมชาติเหลว ได้แก่ propane, butane, pentane และ hexane แกีสเหล่านี้จะกลายเป็นของเหลวได้ง่ายที่อุณหภูมิต่ำและความดันสูง ทำให้เกิดปญหาในการขนส่ง

แก๊สธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงฟอสซิลที่สำคัญในลำดับต้นๆ ในโลกปัจจุบันและถือเป็นเชื้อเพลิงที่ปลอดภัย และสะอาด ซึ่งโดยธรรมชาติ ไม่มีสี และไม่มีกลิ่น และไม่มีรูปแบบ แก๊สธรรมชาติมีสัดส่วนทั่วไปดังนี้

ชื่อ สูตรเคมี สัดส่วนในแก๊สธรรมชาติ
Methane มีเทน CH4 70 - 90%
Ethane อีเทน C2H6 0 - 20%
Popane โพรเพน C3H8
Butane บิวเบน C4H10
Carbon Dioxide คาร์บอนไดออกไซด์ CO2 0 - 8%
Oxygen ออกซิเจน O2 0 - 0.2%
Nitrogen ไนโตรเจน N2 0 - 0.5%
Hydrogen Sulfide ไฮโดรเจนซัลไฟด์ H2S 0 - 5%
แก๊สอื่นๆ Ar,He,Ne,Xe เล็กน้อย

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น