ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พูดคุย:ช่อง 9 เอ็มคอต เอชดี"

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 103: บรรทัด 103:


==== ระยะเวลาออกอากาศ ====
==== ระยะเวลาออกอากาศ ====
* ปี 2498 - 2500 เปิดสถานีเวลา 09.00-14.00 น. และ 17.00-21.30 น.
* ปี 2498 - 2500 เปิดสถานีเวลา 13.00-14.00 น. และ 17.00-21.30 น.
* ปี 2501 - 2514 เปิดสถานีเวลา 09.00 น. ปิดสถานีเวลา 22.00 น. และยกเลิกปิดสถานีช่วงบ่าย
* ปี 2501 - 2514 เปิดสถานีเวลา 15.00 น. ปิดสถานีเวลา 22.00 น. และยกเลิกปิดสถานีช่วงบ่าย
* ปี 2514 - 2517 เปิดสถานีเวลา 10.00 น. ปิดสถานีเวลา 22.00 น.
* ปี 2514 - 2517 เปิดสถานีเวลา 17.00 น. ปิดสถานีเวลา 22.00 น.
* ปี 2517 - 2520 เปิดสถานีเวลา 09.00 น. ปิดสถานีเวลา 23.30 น.
* ปี 2517 - 2520 เปิดสถานีเวลา 17.00 น. ปิดสถานีเวลา 23.30 น.
* ปี 2520 - 2524 เปิดสถานีเวลา 08.00-18.30 น. และ 20.00-24.00 น. ปิดสถานีเวลา 18.30-20.00 น.
* ปี 2520 - 2524 เปิดสถานีเวลา 09.00-18.30 น. และ 20.00-24.00 น. ปิดสถานีเวลา 18.30-20.00 น.
* ปี 2524 - 2531 เปิดสถานีเวลา 07.30 น. ปิดสถานีเวลา 00.30 น.โดยได้นำรายการ[[โทรทัศน์เพื่อการศึกษา]]จาก มสธ.มาออกอากาศ
* ปี 2525 - 2531 เปิดสถานีเวลา 08.00 น. ปิดสถานีเวลา 00.30 น.โดยได้นำรายการ[[โทรทัศน์เพื่อการศึกษา]]จาก มสธ.มาออกอากาศ
* ปี 2531 - 2539 เปิดสถานีเวลา 06.00 น. ปิดสถานีเวลา 01.30 น.
* ปี 2531 - 2539 เปิดสถานีเวลา 06.00 น. ปิดสถานีเวลา 01.30 น.
* ปี 2540 - 2545 เปิดสถานีเวลา 04.00 น. ปิดสถานีเวลา 01.30 น.
* ปี 2540 - 2545 เปิดสถานีเวลา 04.00 น. ปิดสถานีเวลา 01.30 น.

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:22, 22 เมษายน 2554

ช่อง 9 เอ็มคอต เอชดี เป็นส่วนหนึ่งของ สถานีย่อยโทรทัศน์ เพื่อรวบรวมเรื่องราวเกี่ยวกับโทรทัศน์ และสถานีโทรทัศน์ ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการได้โดยการช่วยกันพัฒนาบทความ ช่อง 9 เอ็มคอต เอชดี หรือแวะไปที่สถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
??? บทความนี้ยังไม่ได้รับการพิจารณาตามการจัดระดับการเขียนบทความ

เพลงไตเติ้ล

เพลงไตเติ้ลโมเดิร์นไนนทีวีจะเปลี่ยเพลงไตเติ้ลใหม่ในวันที่ 9 เมษายน จริงหรือครับ กระผมว่าเป็นเรื่องเท็จครับเพราะว่าไม่เคยเปลี่ยนเร็วขนาดนี้ (นับจากวันที่ 9 เมษายน พ.ศ.2552) แบบเดินดีแล้วครับ

ไม่จริงอยู่แล้วครับ เพราะว่า ช่องนี้ไม่เคยเอาเพลงจากอเมริกา ช่องนี้แต่งเพลงเอง--180.180.141.6 02:58, 29 มีนาคม 2553 (ICT)

งั้นก็ต้องลบรูปภาพไตเติ้ลข่าว TITV ออกครับ--B-BoyComp11 19:43, 4 เมษายน 2553 (ICT)

แล้วเพลงประกอบรายการ ชุด Fusion เป็นของ Stephen Arnold ตกแล้งทางทีมงานจะใช้เพลงนี้จริงหรือเปล่าครับ --B-BoyComp11 16:06, 9 เมษายน 2553 (ICT)

ขอคัดค้านเองแล้วกัน ผมไม่เห็นด้วยครับ--B-BoyComp11 16:06, 9 เมษายน 2553 (ICT)

เมื่อ วันที่ 1 กรกฎาคม ที่ผ่านมาก ได้เปลี่ยนไตเติ้ลรายการแบบใหม่ แต่จะไม่ใช่คล้ายๆไตเติ้ลข่าว TITV อย่างที่คนเข้าใจ ตอนเริ่มต้นจะมีเส้นหนา สีม่วง และ สีเงิน อย่างละเส้นเดินรอบลูกโลก ตอนหลัง จะแสดงชื่อรายการว่า ข่าวเที่ยง และ ข่าวค่ำ อยู่ฝั่งขวาพร้อมกับโลโกช่องโมเดิร์นไนน์ทีวีรวมอยู่ด้วย เพลงไตเติ้ลใช้แบบเดิมครับ

ย้ายระบบ

ในคืนวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2555 เวลา 00:00 น. ทางสถานีจะมีการย้ายระบบ จากอนาล๊อก เป็นดิจิตอล จริงหรือเปล่าครับ--B-BoyComp11 19:47, 4 เมษายน 2553 (ICT)

  • เป็นไปได้ครับ แต่ผมคิดว่าภายในปลายปี 2553 นี้ก็จะเปลี่ยนเป็นดิจิตอลแล้วครับ--125.25.46.35 04:03, 10 พฤษภาคม 2553 (ICT)

ความผิดพลาดของทางสถานี

ความผิดพลาดของทางสถานีที่ผมเขียนนั้นเป็นความจริง แต่บางUser หรือ IP เขียนไม่น่าเชื่อ ฉะนั้นไม่จำเป็นต้อง ลบ แต่จะลบที่ไม่เป็นความจริงเท่านั้นครับ--B-BoyComp11 22:03, 25 พฤษภาคม 2553 (ICT)

ข้อมูลรอเรียบเรียง เพื่อเพิ่มคุณภาพของบทความ

สถานีโทรทัศน์ในส่วนภูมิภาค

ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ และยูเอชเอฟ รวมทั้งสิ้น 32 สถานี

กราฟิกบอกช่อง

อัตลักษณ์

  • พ.ศ. 2519 อัตลักษณ์ช่อง 9 ลักษณะจะเป็นโครงเส้นสีขาว และแสดงกำกับชื่อองค์กรว่า อ.ส.ม.ท. จะแสดงบนหน้าจอ 30 วินาที
  • พ.ศ. 2532 อัตลักษณ์ช่อง 9 ลักษณะจะเป็นแบบสีความละเอียด 16 สี ตัวอักษรกำกับชื่อองค์กรเป็นสีชมพู
  • พ.ศ. 2539 อัตลักษณ์ช่อง 9 ลักษณะจะเป็นแบบสีและสีเงินความละเอียด 16 สี ตัวอักษรกำกับชื่อองค์มีขนาดเล็กลง และในปี พ.ศ. 2540 ในช่วงข่าวจะแสดงเว็บไซต์อย่างเดียว
  • พ.ศ. 2543 อัตลักษณ์ช่อง 9 ลักษณะจะเป็นแบบสีและสีเงินความละเอียด 32 สี ตัวอักษรสีขาว และเพิ่มเว็บไซต์กำกับไว้ด้วย
  • 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 - ปัจจุบัน ได้เปลี่ยนเป็นโมเดิร์นไนน์ทีวีจึงไม่มีการใช้อัตลักษณ์แบบสีแต่อย่างใด แต่ในปี 2550 ได้เพิ่มเว็บไชต์กำกับอยู่ด้วย และปี 2552 ในช่วงข่าวและรายการสำหรับเด็กต้องตัดเว็บไซต์ที่กำกับอยู่โลโก้อีกเลย

ผังรายการ

การเปิดสถานี

ในปัจจุบัน

เมื่อถึงเวลาประมาณ 04:55 น. สถานีก็จะเปิดสถานีด้วยเพลงสรรเสริญพระบารมี ต่อด้วยพระบรมราโชวาท และหน้าจอแจ้งรายการในภาคเช้า ก่อนทีจะเริ่มรายการด้วยข่าวต้นชั่วโมงจากทางสถานีเป็นรายการแรก

2535 - 2545

จะเริ่มเสียงส่งสัญญาณแพร่ภาพ (ปิ๊บๆๆ) ต่อด้วยภาพสัญลักษณ์ของสถานี พร้อมบรรเลงเพลงต้นวรเชษฐ์ และเพลงสรรเสริญพระบารมี จากนั้นจะเป็นพระบรมราโชวาท และเริ่มรายการแรก

สำหรับภาพสัญลักษณ์ของสถานีในช่วงนี้ จะเป็นตราสัญลักษณ์บนพื้นสีฟ้าหม่น พร้อมข้อความว่า "สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท." และปี พ.ศ. 2542 ได้เปลี่ยนมาเป็นภาพเสาอากาศ ประกอบภาพจากรายการต่างๆ ของสถานี และสัญลักษณ์ของสถานี ใช้มาจนถึงปี พ.ศ. 2545

2524 - 2534

จะเริ่มเสียงส่งสัญญาณแพร่ภาพ (ปิ๊บๆๆ) จากนั้นการฉายตราสัญลักษณ์เก่า สำหรับเสียง จะเป็นเสียงระฆัง ต่อด้วยเพลงต้นวรเชษฐ์ ต่อด้วยจะมีการเปิดเพลงชาติไทย และเริ่มมิวสิควีดีโอ และรายการแรกตามลำดับ

ระยะเวลา

  • ช่อง 9 5 นาที
  • โมเดิร์นไนน์ 3 นาที

การปิดสถานี (ก่อนยุคโมเดิร์นไนน์ทีวี)

  • เมื่อรายการสุดท้ายจบลง คือรายการอินโนเวชั่น มีการฉายพระบรมราโชวาท จากนั้นเปิดเพลงบทสวดมนต์ และเริ่มออกอากาศภาพทดสอบทันที
  • ตั้งแต่วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 ช่อง 9 เปลี่ยนเป็นโมเดิร์นไนน์ทีวี ทางสถานีเริ่มแพร่ภาพออกอากาศ 24 ชั่วโมง จึงไม่มีการทดสอบสัญญาณแม้แต่อย่างใด
ขั้นตอนที่ หน้าจอ เสียง ความยาว
1 รายการอินโนเวชั่นส์จบลง ไม่มีเสียง 5 วินาที
2 พระบรมราโชวาท พระบรมราโชวาท 2 นาที
3 เพลงสรรเสริญพระบารมี เพลงสรรเสริญพระบารมี 1 นาที
4 ภาพทดสอบโลโก้ เพลง จนถึงเปิดสถานีเวลา 07.00

ภาพทดสอบ

  • ปี 2498 - 2520 ภาพทดสอบหัวอินเดียนแดง (Indian Head)
  • ปี 2520 - ปัจจุบัน โลโก้สถานี
ภาพทดสอบพิเศษ
  • ปี 2520 - 2535 ภาพทดสอบ Color Bar
  • ปี 2535 - 2545 ภาพทดสอบ พีเอ็ม 5544
เสียง
  • ปี 2498 - 2520 ไม่มีเสียง
  • ปี 2520 - 2545 เพลงบรรเลง

ภาพทดสอบแบบตราสัญลักษณ์

  • ปี 2520-2530 จะแสดงอัตลักษณ์ช่อง 9 พื้นหลังเป็นสีน้ำตาลกับสีดำไล่สีแบบแนวนอนพร้อมกัน พร้อมตัวอักษรกำกับไว้ว่า "อ.ส.ม.ท." ข้างล่างจะเป็นรูปตารางเส้นสีขาวช่องตารางในแต่ละช่องเป็นสีดำ ซึ่งจะใช้ในช่วงข่าวภาคเที่ยงรวมอยู่ด้วย
  • ปี 2530-2533 จะเป็นภาพสถานีโทรทัศน์ช่อง 9 ถ่ายภาพจากมุมสูง พร้อมกับแสดงอัตลักษณ์ อ.ส.ม.ท. แบบวงกลม (ในสมัยนั้น) พร้อมกับชื่อองค์กรว่า "องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย" อยู่ทางด้านซ้าย
  • ปี 2533-2545 จะแสดงอัตลักษณ์ช่อง 9 พื้นหลังสีดำ พร้อมตัวอักษรกำกับไว้ว่า "สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9" "อ.ส.ม.ท."
  • ปี 2545-ปัจจุบัน (เฉพาะ feed เท่านั้น) โลโก้สถานีแบบใหม่ หมุนรอบตัวเอง

ระยะเวลาออกอากาศ

  • ปี 2498 - 2500 เปิดสถานีเวลา 13.00-14.00 น. และ 17.00-21.30 น.
  • ปี 2501 - 2514 เปิดสถานีเวลา 15.00 น. ปิดสถานีเวลา 22.00 น. และยกเลิกปิดสถานีช่วงบ่าย
  • ปี 2514 - 2517 เปิดสถานีเวลา 17.00 น. ปิดสถานีเวลา 22.00 น.
  • ปี 2517 - 2520 เปิดสถานีเวลา 17.00 น. ปิดสถานีเวลา 23.30 น.
  • ปี 2520 - 2524 เปิดสถานีเวลา 09.00-18.30 น. และ 20.00-24.00 น. ปิดสถานีเวลา 18.30-20.00 น.
  • ปี 2525 - 2531 เปิดสถานีเวลา 08.00 น. ปิดสถานีเวลา 00.30 น.โดยได้นำรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาจาก มสธ.มาออกอากาศ
  • ปี 2531 - 2539 เปิดสถานีเวลา 06.00 น. ปิดสถานีเวลา 01.30 น.
  • ปี 2540 - 2545 เปิดสถานีเวลา 04.00 น. ปิดสถานีเวลา 01.30 น.
  • ปี 2545 - ปัจจุบัน (ตั้งแต่ 1 เมษายน) ออกอากาศ 24 ชั่วโมง

รายการสุดท้าย

  • ปี 2498 - 2519 รายการข่าว
  • ปี 2520 - 2533 รายการเพลง
  • ปี 2537 - มิถุนายน 2538 ภาพยนตร์ต่างประเทศ
  • กรกฎาคม 2538 - มีนาคม 2539 แสดงความอาลัย , เพลงปลุกใจ
  • เมษายน 2539 -2545 รายการแนะนำสินค้า
  • ปี 2545 - 2550 รายการของศาสนาต่าง ๆ (ก่อนเปิดสถานี)

เหตุการณ์สำคัญ

ความผิดพลาดระหว่างออกอากาศ

  • ปี พ.ศ.2529 สถานีออกอากาศรายการพิเศษส่งท้ายปีเก่า 2528 ในช่วงเวลา 23.59 น. เป็นรายการสุดท้าย ในคำพูดว่า สาม...สอง...หนึ่ง... ภาพซ่าผิดปกติทันที
  • ปี พ.ศ.2535 สถานีออกอากาศรายการ ทีวีวาที 9 ใหม่ แต่โดนตัดสัญญาณเมื่อเวลา 22.27 น. ฝืมือโดยคณะปฏิวัติรัฐประหาร และกลับมาออกอากาศใหม่ในวันที่ 21 พฤษภาคม ปีเดียวกัน
  • ปี พ.ศ.2537 สถานีออกอากาศถ่ายทอดสดฟุตบอลโลก 1994 อยู่ๆ พนักงานก็เกิดช็อตไฟฟ้าบาดเจ็บเล็กน้อยไป 1 คน โดยไม่มีผู้เสียชีวิต ทำให้สถานีต้องเลื่อนพับรายการไปอีก 17 นาที และออกอากาศรายการเดิมได้ตามปกติ
  • ปี พ.ศ.2547 สถานีออกอากาศรายการข่าวภาคค่ำ ในเนื้อข่าว มีผู้ชาย... ภาพซ่าผิดปกติทันที
  • ปี พ.ศ.2549 สถานีออกอากาศรายการ คนค้นฅน แต่โดนตัดสัญญาณเมื่อเวลา 22.21 น. ฝืมือโดยคณะปฏิวัติรัฐประหาร และกลับมาออกอากาศใหม่ในวันที่ 21 กันยายน ปีเดียวกัน
  • ปี พ.ศ.2552 สถานีออกอากาศรายการ 9 ร่วมใจ คนไทยไม่ทิ้งกัน เกิดสีของภาพเพิ้ยน(Hue) ทำให้รายการต้องพักไป 10 นาที
  • ปี พ.ศ.2553 สถานีออกอากาศรายการ ไนน์เอ็นเตอร์เทน เกิดไฟฟ้าขัดข้องเสียหายมากมาย สาเหตุมาจากความไม่พอใจของช่อง 3 ที่ถูกเพลิงไหม้ ทำให้สถานีต้องพับรายการไป 8 นาที และออกอากาศรายการเดิมได้ตามปกติ

การออกอากาศผิดรายการ

  • ปี พ.ศ.2527 สถานีออกอากาศรายการ ช่องนำโชค ในช่วงแรก แต่ออกอากาศผิดรายการไปเป็น คอนเสิร์ตแดดเดียว ทำให้สถานีต้องพับรายการไป 2 นาที และออกอากาศรายการเดิมได้ตามปกติ
  • ปี พ.ศ.2535 สถานีออกอากาศรายการพิเศษส่งท้ายปีเก่า 2534 แต่ออกอากาศผิดรายการไปเป็นมิวสิควิดีโอเพลงสรรเสริญพระบารมี ทำให้สถานีต้องพับรายการไป 5 นาที และออกอากาศรายการเดิมได้ตามปกติ
  • ปี พ.ศ.2538 สถานีออกอากาศรายการ ตามไปดู แต่ออกอากาศผิดรายการไปเป็นข่าวภาคค่ำ (ไตเติ้ลรุ่น 1980-1987) ทำให้สถานีต้องพับรายการไป 7 นาที และออกอากาศรายการเดิมได้ตามปกติ
  • ปี พ.ศ.2549 สถานีออกอากาศรายการ เกมทศกันฐ์ แต่ออกอากาศผิดรายการไปเป็น การ์ตูนมิรุโม่ ภูติน้อยจอมป่วน ทำให้สถานีต้องเลื่อนพับรายการไปอีก 15 นาที
  • ปี พ.ศ.2553 สถานีออกอากาศรายการ MONEY DAILY ในช่วงสุดท้าย แต่ออกอากาศผิดรายการไปเป็น สี่แยกแปลกดี ทำให้สถานีต้องเลื่อนพับรายการไปอีก 2 นาที และออกอากาศรายการเดิมได้ตามปกติ

ขาดการส่ง

  • กุมภาพันธ์ ปี พ.ศ.2535 สถานีออกอากาศรายการ ซูเปอร์จิ๋ว แต่ปิดสถานีก่อนกำหนดในเวลา 10.43 น. จึงหายไปและไม่สามารถออกอากาศได้ 1 วัน
  • ปี พ.ศ.2536 สถานีออกอากาศรายการพิเศษ "ใจเดียวกันปลูกต้นไม้ในป่าเดียวกัน" แต่พนักงานถอดวิดีโอออก จนทำให้สถานีต้องพักรายการไป 1 นาที และออกอากาศรายการเดิมได้ตามปกติ --ข้อความนี้ไม่ได้ลงชื่อ ซึ่งออกความเห็นโดยผู้ใช้ TheBuntoMaka4 (พูดคุยหน้าที่เขียน) 18:01, 11 กันยายน 2553 (ICT)
  • ปี พ.ศ.2540 สถานีออกอากาศรายการ แบง แบง แบงไทยแลนด์ สายไฟหลุดที่เสาอากาศ จนถึงทำให้ไฟฟ้าขัดข้อง และภาพซ่า สถานีต้องหยุดออกอากาศในเวลา 22.45-00.30 น. และได้นัดซ่อมสถานีในเวลา 00.30-06.00 น. ด้วยภาพทดสอบโลโก้ของสถานี

สัญลักษณ์รายการข่าว

ข่าวภาคเช้า (ข่าวก้าววันใหม่/ตลาดเช้าข่าวสด/เช้าข่าวข้น)

ข่าวภาคเที่ยง

ข่าวภาคค่ำ

ข่าวภาคดึก (MCOT NEWS/ทันข่าวเที่ยงคืน)

ข่าวสั้นทันโลก(ช่ิอง9)/ข่าวต้นชั่วโมง(โมเดิร์นไนน์ทีวี)

เพลงเข้ารายการข่าว

  • 2498 - 2517 เพลงต้นบรเทศ
  • 2517 - 2520 เพลงประกอบรายการ รูปแบบบรรเลง Symphony
  • 2520 - 2532 เพลงประกอบรายการ ในรูปแบบ Symphony
  • 2533 - 2545 เพลงประกอบรายการ เป็นของ บลูสแกสตั้น และ วงฟองน้ำ (ปัจจุบันมีให้ได้ยินกันทางคลื่นวิทยุ อสมท. ในช่วงข่าว)
  • 6 พฤศจิกายน 2545 - 2550 (เพลงที่สถานีทำขึ้นมาเอง)
  • 2550 - 2552 (เพลงบรรเลงที่สถานีทำขึ้นมาเอง)
  • 9 เมษายน 2552 - ปัจจุบัน (เพลงบรรเลงที่สถานีทำขึ้นมาเอง)