ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวดึงส์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Buddha preaching Abhidhamma in Tavatimsa.jpg|thumb|300px|[[พระโคดมพุทธเจ้า|พระศากยโคดมพุทธเจ้า]]ทรงแสดง[[พระอภิธรรม]]โปรด[[พระนางสิริมหามายา|พุทธมารดา]]ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์]]
[[ไฟล์:Buddha preaching Abhidhamma in Tavatimsa.jpg|thumb|300px|[[พระโคดมพุทธเจ้า|พระศากยโคดมพุทธเจ้า]]ทรงแสดง[[พระอภิธรรม]]โปรด[[พระนางสิริมหามายา|พุทธมารดา]]ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์]]
[[ไฟล์:Mtmerucosmology01.jpg|thumb|300px|จิตรกรรมเรื่อง[[ไตรภูมิ]] แสดงที่ตั้งของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์บนยอด[[เขาพระสุเมรุ]]]]
[[ไฟล์:Mtmerucosmology01.jpg|thumb|300px|จิตรกรรมเรื่อง[[ไตรภูมิ]] แสดงที่ตั้งของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์บนยอด[[เขาพระสุเมรุ]]]]
'''ดาวดึงส์''' ({{lang-pi|''ตาวตฺริ˚ส โลก''}}) หรือ '''ตรัยตรึงศ์''', '''ไตรตรึงษ์''' ({{lang-sa|त्रायस्त्रिंश लोक}} ''ตฺรายสฺตฺริ˚ศ โลก'') เป็นชื่อของสวรรค์ (ภูมิของเทวดาทั้งหลาย) อันสำคัญยิ่งใน[[จักรวาลวิทยาในศาสนาพุทธ|จักรวาลวิทยา]]ของ[[ศาสนาพุทธ]] คำว่า ''ตฺรายสฺตฺริ˚ศ'' เป็นรูป[[คำคุณศัพท์]]ของคำว่า ''ตฺรายสฺตฺริ˚ศตฺ'' (จำนวน 33) อาจแปลความหมายได้ว่า "ที่อยู่ของเทพ 33 องค์"
'''ดาวดึงส์''' ({{lang-pi|''ตาวตฺริ˚ส โลก''}}) หรือ '''ตรัยตรึงศ์''', '''ไตรตรึงษ์'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒] (สืบค้นออนไลน์). ไตรตรึงษ์ เป็นคำโบราณที่สะกดไม่ตรงตามรูปศัพท์ (ศ→ษ) และเป็นชื่อของตำบลไตรตรึงษ์ อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร โดยนัยทั่วไปควรสะกดว่า ตรัยตรึงศ์<ref> ({{lang-sa|त्रायस्त्रिंश लोक}} ''ตฺรายสฺตฺริ˚ศ โลก'') เป็นชื่อของสวรรค์ (ภูมิของเทวดาทั้งหลาย) อันสำคัญยิ่งใน[[จักรวาลวิทยาในศาสนาพุทธ|จักรวาลวิทยา]]ของ[[ศาสนาพุทธ]] คำว่า ''ตฺรายสฺตฺริ˚ศ'' เป็นรูป[[คำคุณศัพท์]]ของคำว่า ''ตฺรายสฺตฺริ˚ศตฺ'' (จำนวน 33) อาจแปลความหมายได้ว่า "ที่อยู่ของเทพ 33 องค์"


สวรรค์ชั้นดาวดึงส์เป็นสวรรค์ชั้นที่ 2 จากสวรรค์[[ฉกามาพจร]]ทั้ง 6 ชั้น(จัดอยู่ใน[[กามภูมิ]]) โดยอยู่สูงขึ้นไปถัดจากสวรรค์ชั้น[[จาตุมหาราชิกา]]ขึ้นไป 336,000,000 วา หรือ 168,000 กิโลเมตร ตั้งอยู่บนยอด[[เขาพระสุเมรุ]]อันสูง 80,000 โยชน์ ซึ่งเป็นจุดสูงที่สุดที่ยังเชื่อมอยู่กัยมนุสสภูมิหรือโลกมนุษย์ (อาจเทียบได้กับ[[ยอดเขาโอลิมปัส]]ใน[[ตำนานเทพปกรณัมกรีก]]) อาณาบริเวณโดยรอบ 80,000 ตารางโยชน์ มี[[ท้าวสักกะ]]หรือ[[พระอินทร์]]เป็นผู้ปกครอง
สวรรค์ชั้นดาวดึงส์เป็นสวรรค์ชั้นที่ 2 จากสวรรค์[[ฉกามาพจร]]ทั้ง 6 ชั้น(จัดอยู่ใน[[กามภูมิ]]) โดยอยู่สูงขึ้นไปถัดจากสวรรค์ชั้น[[จาตุมหาราชิกา]]ขึ้นไป 336,000,000 วา หรือ 168,000 กิโลเมตร ตั้งอยู่บนยอด[[เขาพระสุเมรุ]]อันสูง 80,000 โยชน์ ซึ่งเป็นจุดสูงที่สุดที่ยังเชื่อมอยู่กัยมนุสสภูมิหรือโลกมนุษย์ (อาจเทียบได้กับ[[ยอดเขาโอลิมปัส]]ใน[[ตำนานเทพปกรณัมกรีก]]) อาณาบริเวณโดยรอบ 80,000 ตารางโยชน์ มี[[ท้าวสักกะ]]หรือ[[พระอินทร์]]เป็นผู้ปกครอง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:50, 28 มีนาคม 2554

ไฟล์:Buddha preaching Abhidhamma in Tavatimsa.jpg
พระศากยโคดมพุทธเจ้าทรงแสดงพระอภิธรรมโปรดพุทธมารดาในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
จิตรกรรมเรื่องไตรภูมิ แสดงที่ตั้งของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์บนยอดเขาพระสุเมรุ

ดาวดึงส์ ([ตาวตฺริ˚ส โลก] ข้อผิดพลาด: {{Lang-xx}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) หรือ ตรัยตรึงศ์, ไตรตรึงษ์<ref>พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ (สืบค้นออนไลน์). ไตรตรึงษ์ เป็นคำโบราณที่สะกดไม่ตรงตามรูปศัพท์ (ศ→ษ) และเป็นชื่อของตำบลไตรตรึงษ์ อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร โดยนัยทั่วไปควรสะกดว่า ตรัยตรึงศ์<ref> (สันสกฤต: त्रायस्त्रिंश लोक ตฺรายสฺตฺริ˚ศ โลก) เป็นชื่อของสวรรค์ (ภูมิของเทวดาทั้งหลาย) อันสำคัญยิ่งในจักรวาลวิทยาของศาสนาพุทธ คำว่า ตฺรายสฺตฺริ˚ศ เป็นรูปคำคุณศัพท์ของคำว่า ตฺรายสฺตฺริ˚ศตฺ (จำนวน 33) อาจแปลความหมายได้ว่า "ที่อยู่ของเทพ 33 องค์"

สวรรค์ชั้นดาวดึงส์เป็นสวรรค์ชั้นที่ 2 จากสวรรค์ฉกามาพจรทั้ง 6 ชั้น(จัดอยู่ในกามภูมิ) โดยอยู่สูงขึ้นไปถัดจากสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกาขึ้นไป 336,000,000 วา หรือ 168,000 กิโลเมตร ตั้งอยู่บนยอดเขาพระสุเมรุอันสูง 80,000 โยชน์ ซึ่งเป็นจุดสูงที่สุดที่ยังเชื่อมอยู่กัยมนุสสภูมิหรือโลกมนุษย์ (อาจเทียบได้กับยอดเขาโอลิมปัสในตำนานเทพปกรณัมกรีก) อาณาบริเวณโดยรอบ 80,000 ตารางโยชน์ มีท้าวสักกะหรือพระอินทร์เป็นผู้ปกครอง

เมืองบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์เป็นเมืองใหญ่ที่สร้างอย่างงดงามด้วยทองและแก้ว 7 ประการ มีเสียงดนตรีบรรเลงอยู่อย่างไพเราะ กลางเมืองดาวดึงส์มีปราสาทใหญ่ที่งดงามเป็นที่ประดับของพระอินทร์

บนสวรรค์ชั้นนี้มีอุทยานที่งดงามมากอยู่ 4 แห่ง คือ

  1. นันทวนุทยาน หรือ สวนนันทวัน (สวนที่รื่นรมย์) ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ในสวนด้านที่ใกล้กับตัวเมืองมีสระใหญ่ 2 สระ สระหนึ่งมีชื่อว่า สระนันทาโบกขรณี อีกสระหนึ่งมีชื่อว่า จุลนันทาโบกขรณี มีแผ่นศิลา 2 แผ่น แผ่นหนึ่งมีชื่อว่า นันทาปริถิปาสาณ อีกแผ่นหนึ่งมีชื่อว่า จุลนันทาปริถิปาสาณ เป็นศิลาที่มีรัศมีเรืองรอง เมื่อจับดูจะรู้สึกว่านิ่มเหมือนขนสัตว์
  2. ผรุสกวัน หรือ ปารุสกวัน (ป่าลิ้นจี่) ตั้งอยู่ทางทิศตะวันใต้ของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ในอุทยานนี้ด้านใกล้ตัวเมือง มีสระใหญ่ 2 สระ สระหนึ่งมีชื่อว่า ภัทราโบกขรณี อีกสระหนึ่งมีชื่อว่า สุภัทราโบกขรณี มีก้อนแก้วใส 2 ก้อน ก้อนหนึ่งมีชื่อว่า ภัทราปริถิปาสาณ อีกก้อนหนึ่งมีชื่อว่า สุภัทราปริถิปาสาณ เป็นแก้วเกลี้ยงและอ่อนนุ่ม
  3. จิตรลดาวัน (ป่ามีเถาวัลย์หลากสีสวยงาม) ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกกของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ สระในอุทยานนี้มีชื่อว่า จิตรโบกขรณี และจุลจิตรโบกขรณี ส่วนแผ่นศิลาแก้วในอุทยานนี้แผ่นหนึ่งมีชื่อว่า จิตรปาสาณ อีกแผ่นหนึ่งมีชื่อว่า จุลจิตรปาสาณ
  4. สักกวัน หรือ มิสกวัน (ป่าไม้ระคน) ตั้งอยู่ทางทิศตะวันเหนือของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ สระใหญ่ในอุทยานนี้มีชื่อว่า ธรรมาโบกขรณี และสุธรรมาโบกขรณี ส่วนแผ่นศิลาแก้วมีชื่อว่า ธรรมาปริถิปาสาณ และสุธรรมาปิริถิปาสาณ