ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาวะเสียการอ่านเข้าใจ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mjbmrbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: af, ar, arz, bg, ca, cs, cy, da, de, el, eo, es, et, eu, fa, fr, gl, gu, he, hi, hr, hu, id, io, is, it, ja, ka, kn, lv, ms, nl, no, pl, sv, ta, te, tr, uk, vi, zh
บรรทัด 32: บรรทัด 32:
{{โครงแพทย์}}
{{โครงแพทย์}}


[[af:Disleksie]]
[[ar:عسر القراءة]]
[[arz:ديسلكسيا]]
[[bg:Дислексия]]
[[ca:Dislèxia]]
[[cs:Dyslexie]]
[[cy:Dyslecsia]]
[[da:Ordblindhed]]
[[de:Dyslexie]]
[[el:Δυσλεξία]]
[[en:Dyslexia]]
[[en:Dyslexia]]
[[eo:Disleksio]]
[[es:Dislexia]]
[[et:Düsleksia]]
[[eu:Dislexia]]
[[fa:خوانش‌پریشی]]
[[fi:Lukivaikeus]]
[[fr:Dyslexie]]
[[gl:Dislexia]]
[[gu:ડિસ્લેક્સીયા]]
[[he:דיסלקציה]]
[[hi:डिस्लेक्सिया]]
[[hr:Disleksija]]
[[hu:Diszlexia]]
[[id:Disleksia]]
[[io:Dislexio]]
[[is:Lesblinda]]
[[it:Dislessia]]
[[ja:ディスレクシア]]
[[ka:დისლექსია]]
[[kn:ಡಿಸ್ಲೆಕ್ಸಿಯಾ]]
[[lv:Disleksija]]
[[ms:Disleksia]]
[[nl:Dyslexie]]
[[no:Dysleksi]]
[[pl:Dysleksja]]
[[pt:Dislexia]]
[[pt:Dislexia]]
[[ro:Dislexie]]
[[ro:Dislexie]]
บรรทัด 40: บรรทัด 75:
[[sk:Dyslexia]]
[[sk:Dyslexia]]
[[sr:Дислексија]]
[[sr:Дислексија]]
[[fi:Lukivaikeus]]
[[sv:Dyslexi]]
[[ta:புரிந்தும் படிக்க இயலாமை]]
[[te:డిస్లెక్సియా]]
[[tr:Disleksi]]
[[uk:Дислексія]]
[[vi:Chứng khó đọc]]
[[zh:失讀症]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:38, 26 มีนาคม 2554

ภาวะเสียการอ่านเข้าใจ
(Dyslexia)
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10R48.0
ICD-9315.02
OMIM127700
DiseasesDB4016
MeSHD004410

ภาวะเสียการอ่านเข้าใจ หรือ ภาวะเสียการอ่านรู้ความ[1] หรือภาวะอ่านไม่เข้าใจ[2] (อังกฤษ: dyslexia) เป็นความพิการทางการเรียนรู้รูปแบบหนึ่งที่ทำให้ผู้ป่วยมีปัญหาทั้งความคล่องแคล่วและความแม่นยำในการอ่าน การพูด และการสะกดคำ ซึ่งอาจแสดงอาการเป็นความยากลำบากในการรับรู้เสียง การถอดรหัสเสียง การเข้าใจตัวอักษร ความจำเสียงระยะสั้น และ/หรือการเรียกชื่อสิ่งของ ซึ่งไม่เหมือนกันกับภาวะอ่านลำบากที่เกิดจากสาเหตุอื่น เช่นความพิการทางตาหรือการได้ยินหรือจากการไม่ได้เรียนรู้วิธีอ่าหนังสือ เชื่อว่ามีผู้ที่มีภาวะอ่านไม่เข้าใจอยู่ 5-10% ของประชากรหนึ่งๆ แม้จะยังไม่มีการศึกษาวิจัยหาความชุกที่แท้จริงของภาวะนี้ก็ตาม

อ้างอิง

  1. ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน พิมพ์คำว่า dyslexia
  2. บัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ ฉบับประเทศไทย (อังกฤษ-ไทย) ฉบับปี 2009. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, 2552.