ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวดึงส์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
moveCategory
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
ภาพ +ลิงก์ข้ามภาษา
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[File:Buddha preaching Abhidhamma in Tavatimsa.jpg|thumb|300px|[[พระโคดมพุทธเจ้า|พระศากยโคดมพุทธเจ้า]]ทรงแสดง[[พระอภิธรรม]]โปรด[[พระนางสิริมหามายา|พุทธมารดา]]ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์]]
'''ดาวดึงส์''' หรือ '''ไตรตรึงษ์''' เป็นสวรรค์ชั้นสูงจากชั้นจาตุมหาราชิก ขึ้นไป 336,000,000 วา หรือ 168,000 กิโลเมตร ดาวดึงส์อยู่บนเขาพระสุเมรุ มี[[พระอินทร์]]เป็นผู้ปกครองอยู่ เป็นเมืองใหญ่ที่สร้างอย่างงดงามด้วย[[ทอง]]และ[[แก้ว]] 7 ประการ มีเสียง[[ดนตรี]]บรรเลงอยู่อย่างไพเราะ กลางเมืองดาวดึงส์มีปราสาทใหญ่ที่งดงามเป็นที่ประดับของพระอินทร์
'''ดาวดึงส์''' ([[ภาษาบาลี|บาลี]] : ตาวติงฺส) หรือ '''ไตรตรึงษ์''' ( [[ภาษาสันสกฤต|สันสกฤต]] : ตฺรยสติงฺษ) เป็นสวรรค์ชั้นสูงจากชั้นจาตุมหาราชิก ขึ้นไป 336,000,000 วา หรือ 168,000 กิโลเมตร ดาวดึงส์อยู่บนเขาพระสุเมรุ มี[[พระอินทร์]]เป็นผู้ปกครองอยู่ เป็นเมืองใหญ่ที่สร้างอย่างงดงามด้วย[[ทอง]]และ[[แก้ว]] 7 ประการ มีเสียง[[ดนตรี]]บรรเลงอยู่อย่างไพเราะ กลางเมืองดาวดึงส์มีปราสาทใหญ่ที่งดงามเป็นที่ประดับของพระอินทร์


บนสวรรค์ชั้นนี้มีอุทยานที่งดงามมากอยู่ 4 แห่ง อุทยานทางทิศตะวันออกมีชื่อว่า นันทวนุทยาน หรือสวนนันทวัน แปลว่า สวนที่รื่นรมย์ ในสวนด้านที่ใกล้กับตัวเมืองมีสระใหญ่ 2 สระ สระหนึ่งมีชื่อว่า สระนันทาโบกขรณี อีกสระหนึ่งมีชื่อว่า จุลนันทาโบกขรณี มีแผ่นศิลา 2 แผ่น แผ่นหนึ่งมีชื่อว่า นันทาปริถิปาสาณ อีกแผ่นหนึ่งมีชื่อว่า จุลนันทาปริถิปาสาณ เป็นศิลาที่มีรัศมีเรืองรอง เมื่อจับดูจะรู้สึกว่านิ่มเหมือนขนสัตว์ นอกเมืองดาวดึงส์ออกไปทางทิศใต้ มีอุทยานอีกแห่งหนึ่งมีชื่อว่า ผรุสกวัน หรือปารุสกวัน แปลว่า ป่าลิ้นจี่ ในอุทยานนี้ด้านใกล้ตัวเมือง มีสระใหญ่ 2 สระ สระหนึ่งมีชื่อว่า ภัทราโบกขรณี อีกสระหนึ่งมีชื่อว่า สุภัทราโบกขรณี มีก้อนแก้วใส 2 ก้อน ก้อนหนึ่งมีชื่อว่า ภัทราปริถิปาสาณ อีกก้อนหนึ่งมีชื่อว่า สุภัทราปริถิปาสาณ เป็นแก้วเกลี้ยงและอ่อนนุ่ม ทางด้านทิศตะวันตกของนครไตรตรึงษ์ มีอุทยานอีกแห่งหนึ่งมีชื่อว่า จิตรลดาวัน แปลว่า ป่ามีเถาวัลย์หลากสีสวยงาม สระในอุทยานนี้มีชื่อว่า จิตรโบกขรณี และจุลจิตรโบกขรณี ส่วนแผ่นศิลาแก้วในอุทยานนี้แผ่นหนึ่งมีชื่อว่า จิตรปาสาณ อีกแผ่นหนึ่งมีชื่อว่า จุลจิตรปาสาณ อุทยานสุดท้ายทางด้านทิศเหนือมีชื่อว่า สักกวัน หรือ มิสกวัน แปลว่า ป่าไม้ระคน สระใหญ่ในอุทยานนี้มีชื่อว่า ธรรมาโบกขรณี และสุธรรมาโบกขรณี ส่วนแผ่นศิลาแก้วมีชื่อว่า ธรรมาปริถิปาสาณ และสุธรรมาปิริถิปาสาณ
บนสวรรค์ชั้นนี้มีอุทยานที่งดงามมากอยู่ 4 แห่ง อุทยานทางทิศตะวันออกมีชื่อว่า นันทวนุทยาน หรือสวนนันทวัน แปลว่า สวนที่รื่นรมย์ ในสวนด้านที่ใกล้กับตัวเมืองมีสระใหญ่ 2 สระ สระหนึ่งมีชื่อว่า สระนันทาโบกขรณี อีกสระหนึ่งมีชื่อว่า จุลนันทาโบกขรณี มีแผ่นศิลา 2 แผ่น แผ่นหนึ่งมีชื่อว่า นันทาปริถิปาสาณ อีกแผ่นหนึ่งมีชื่อว่า จุลนันทาปริถิปาสาณ เป็นศิลาที่มีรัศมีเรืองรอง เมื่อจับดูจะรู้สึกว่านิ่มเหมือนขนสัตว์ นอกเมืองดาวดึงส์ออกไปทางทิศใต้ มีอุทยานอีกแห่งหนึ่งมีชื่อว่า ผรุสกวัน หรือปารุสกวัน แปลว่า ป่าลิ้นจี่ ในอุทยานนี้ด้านใกล้ตัวเมือง มีสระใหญ่ 2 สระ สระหนึ่งมีชื่อว่า ภัทราโบกขรณี อีกสระหนึ่งมีชื่อว่า สุภัทราโบกขรณี มีก้อนแก้วใส 2 ก้อน ก้อนหนึ่งมีชื่อว่า ภัทราปริถิปาสาณ อีกก้อนหนึ่งมีชื่อว่า สุภัทราปริถิปาสาณ เป็นแก้วเกลี้ยงและอ่อนนุ่ม ทางด้านทิศตะวันตกของนครไตรตรึงษ์ มีอุทยานอีกแห่งหนึ่งมีชื่อว่า จิตรลดาวัน แปลว่า ป่ามีเถาวัลย์หลากสีสวยงาม สระในอุทยานนี้มีชื่อว่า จิตรโบกขรณี และจุลจิตรโบกขรณี ส่วนแผ่นศิลาแก้วในอุทยานนี้แผ่นหนึ่งมีชื่อว่า จิตรปาสาณ อีกแผ่นหนึ่งมีชื่อว่า จุลจิตรปาสาณ อุทยานสุดท้ายทางด้านทิศเหนือมีชื่อว่า สักกวัน หรือ มิสกวัน แปลว่า ป่าไม้ระคน สระใหญ่ในอุทยานนี้มีชื่อว่า ธรรมาโบกขรณี และสุธรรมาโบกขรณี ส่วนแผ่นศิลาแก้วมีชื่อว่า ธรรมาปริถิปาสาณ และสุธรรมาปิริถิปาสาณ


[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:จักรวาลวิทยาในศาสนาพุทธ]]

[[en:Trāyastriṃśa]]
[[et:Trājastrimša]]
[[fr:Trente-trois cieux]]
[[my:တာဝတိံသာ]]
[[ja:とう利天]]
[[ru:Тридцать три бога]]
[[ta:திராயஸ்திரிம்ச உலகம்]]
[[zh:忉利天]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:46, 25 มีนาคม 2554

ไฟล์:Buddha preaching Abhidhamma in Tavatimsa.jpg
พระศากยโคดมพุทธเจ้าทรงแสดงพระอภิธรรมโปรดพุทธมารดาในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์

ดาวดึงส์ (บาลี : ตาวติงฺส) หรือ ไตรตรึงษ์ ( สันสกฤต : ตฺรยสติงฺษ) เป็นสวรรค์ชั้นสูงจากชั้นจาตุมหาราชิก ขึ้นไป 336,000,000 วา หรือ 168,000 กิโลเมตร ดาวดึงส์อยู่บนเขาพระสุเมรุ มีพระอินทร์เป็นผู้ปกครองอยู่ เป็นเมืองใหญ่ที่สร้างอย่างงดงามด้วยทองและแก้ว 7 ประการ มีเสียงดนตรีบรรเลงอยู่อย่างไพเราะ กลางเมืองดาวดึงส์มีปราสาทใหญ่ที่งดงามเป็นที่ประดับของพระอินทร์

บนสวรรค์ชั้นนี้มีอุทยานที่งดงามมากอยู่ 4 แห่ง อุทยานทางทิศตะวันออกมีชื่อว่า นันทวนุทยาน หรือสวนนันทวัน แปลว่า สวนที่รื่นรมย์ ในสวนด้านที่ใกล้กับตัวเมืองมีสระใหญ่ 2 สระ สระหนึ่งมีชื่อว่า สระนันทาโบกขรณี อีกสระหนึ่งมีชื่อว่า จุลนันทาโบกขรณี มีแผ่นศิลา 2 แผ่น แผ่นหนึ่งมีชื่อว่า นันทาปริถิปาสาณ อีกแผ่นหนึ่งมีชื่อว่า จุลนันทาปริถิปาสาณ เป็นศิลาที่มีรัศมีเรืองรอง เมื่อจับดูจะรู้สึกว่านิ่มเหมือนขนสัตว์ นอกเมืองดาวดึงส์ออกไปทางทิศใต้ มีอุทยานอีกแห่งหนึ่งมีชื่อว่า ผรุสกวัน หรือปารุสกวัน แปลว่า ป่าลิ้นจี่ ในอุทยานนี้ด้านใกล้ตัวเมือง มีสระใหญ่ 2 สระ สระหนึ่งมีชื่อว่า ภัทราโบกขรณี อีกสระหนึ่งมีชื่อว่า สุภัทราโบกขรณี มีก้อนแก้วใส 2 ก้อน ก้อนหนึ่งมีชื่อว่า ภัทราปริถิปาสาณ อีกก้อนหนึ่งมีชื่อว่า สุภัทราปริถิปาสาณ เป็นแก้วเกลี้ยงและอ่อนนุ่ม ทางด้านทิศตะวันตกของนครไตรตรึงษ์ มีอุทยานอีกแห่งหนึ่งมีชื่อว่า จิตรลดาวัน แปลว่า ป่ามีเถาวัลย์หลากสีสวยงาม สระในอุทยานนี้มีชื่อว่า จิตรโบกขรณี และจุลจิตรโบกขรณี ส่วนแผ่นศิลาแก้วในอุทยานนี้แผ่นหนึ่งมีชื่อว่า จิตรปาสาณ อีกแผ่นหนึ่งมีชื่อว่า จุลจิตรปาสาณ อุทยานสุดท้ายทางด้านทิศเหนือมีชื่อว่า สักกวัน หรือ มิสกวัน แปลว่า ป่าไม้ระคน สระใหญ่ในอุทยานนี้มีชื่อว่า ธรรมาโบกขรณี และสุธรรมาโบกขรณี ส่วนแผ่นศิลาแก้วมีชื่อว่า ธรรมาปริถิปาสาณ และสุธรรมาปิริถิปาสาณ