ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: rue:Алфавіт
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.4) (โรบอต แก้ไข: uk:Абетка (в мовознавстві)
บรรทัด 25: บรรทัด 25:
[[หมวดหมู่:การเขียน]]
[[หมวดหมู่:การเขียน]]
[[หมวดหมู่:อักขรวิธี]]
[[หมวดหมู่:อักขรวิธี]]

[[bjn:Alfabét]]


[[af:Alfabet]]
[[af:Alfabet]]
บรรทัด 38: บรรทัด 36:
[[be-x-old:Альфабэт]]
[[be-x-old:Альфабэт]]
[[bg:Азбука]]
[[bg:Азбука]]
[[bjn:Alfabét]]
[[bn:বর্ণমালা]]
[[bn:বর্ণমালা]]
[[bpy:মেয়েক]]
[[bpy:মেয়েক]]
บรรทัด 131: บรรทัด 130:
[[tr:Alfabe]]
[[tr:Alfabe]]
[[tt:Älifba]]
[[tt:Älifba]]
[[uk:Абетка (в мовознавстві)]]
[[uk:Алфавіт]]
[[ur:حروف تہجی]]
[[ur:حروف تہجی]]
[[vec:Alfabeto]]
[[vec:Alfabeto]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:47, 11 กุมภาพันธ์ 2554

แผนที่โลกแบ่งตามอักษรที่ใช้

อักษร คือ สัญลักษณ์ หรือ เครื่องหมาย สำหรับใช้แทนหน่วยเสียง ในภาษาหนึ่งๆ โดยเรียกรวมทั้งชุดหรือทั้งระบบ โดยทั่วไป อักษรแต่ละตัว มักจะใช้แทนหน่วยเสียงหนึ่งๆ ซึ่งอาจเป็นเสียงสระ พยัญชนะ หรือหน่วยเสียงปลีกย่อยอื่นๆ เช่น อักษรโรมัน อักษรไทย อักษรมอญ โดยทั่วไปเรียกกันว่า "ตัวหนังสือ"

อย่างไรก็ตาม สัญลักษณ์แทนเสียงในบางภาษาอาจใช้แทนเสียงของพยางค์ หรือคำ ก็ได้ เช่น อักษรจีน หรือตัวหนังสือจีน (นักวิชาการบางสำนักไม่ถือว่าตัวหนังสือจีน เป็น "อักษร" ตามนิยามของคำว่า alphabet ในภาษาอังกฤษ แต่เรียกว่า ideogram คือสัญลักษณ์แทนคำ หรือหน่วยคำ)

แบบแผนว่าด้วยตัวหนังสือนั้น ในตำราภาษาไทย เรียกว่า อักขรวิธี ซึ่งว่าด้วยการเขียน การอ่าน การประสมอักษร และการใช้อักษรอย่างถูกต้อง

อักษรที่ใช้ในภาษาต่างๆ อาจใช้สำหรับภาษาหนึ่งๆ หรือใช้กับหลายๆ ภาษาก็ได้ ด้วยเหตุนี้ จึงมักจะมีความเข้าใจสับสน ระหว่าง คำว่า อักษร และภาษา อยู่เสมอ ตัวอย่างเช่น อักษรโรมัน ใช้เขียนภาษาต่างๆ หลายภาษาในยุโรป โดยมีการดัดแปลงเล็กๆ น้อยๆ เพื่อให้สามารถแทนเสียงในภาษาของตนได้ เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน เป็นต้น รวมทั้งภาษาในภูมิภาคอื่นๆ เช่น ภาษามลายู ภาษาจีน และภาษาเวียดนาม (ดัดแปลงตัวอักษร) เป็นต้น

ดูเพิ่ม