ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโกมลเสาวมาล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{สั้นมาก}}
{{กล่องข้อมูล เจ้านายหรือพระบรมวงศานุวงศ์
{{กล่องข้อมูล เจ้านายหรือพระบรมวงศานุวงศ์
|สี = gold
|สี = gold
บรรทัด 29: บรรทัด 29:


นายด่านเมืองปากน้ำอีกตำแหน่ง ที่ปรากฏในฐานะผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ มีราชทินนามว่า สมุทรบุรานุรักษ์ เป็นราชทินนามที่ปรากฏตั้งแต่สมัยกรุงธนบุรี เมื่อครั้งที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้บุคคลเชื้อสายแขกสุลัยมาน นามเดิมว่า หวัง บุนนาค ที่สืบเชื้อสายจากตระกูลรับราชการ มาแต่สมัยสมเด็จพระเอกาทศรฐ (พ.ศ.๒๑๔๘) ท่านเป็นผู้มีความชำนาญในการเดินเรือทางทะเล คำว่า สมุทรบุรานุรักษ์ จึงเป็นความหมายที่เกี่ยวกับทะเล แต่สมัยนั้นทรงโปรดให้ดำรงตำแหน่งเป็นทหารประจำที่เมืองสงขลา สมัยรัชกาลที่ ๑ จึงมีการโปรดเกล้าฯ ให้พระสมุทรบุรานุรักษ์ (หวัง) บุนนาค มาเป็นเจ้าเมืองชลบุรี ก่อนที่จะให้มาเป็นนายทหารเรือในกรุงเทพฯ การแต่งตั้งพระยาสมุทรบุรานุรักษ์ในตำแหน่งเจ้าเมืองสมุทรปราการ เพิ่งมีบันทึกในสมัยรัชกาลที่ ๔ คือ ท่านพระยาสมุทรบุรานุรักษ์ (เกิด)เนตรายน โดยปรากฏหลักฐานในปี พ.ศ. ๒๓๙๘ ในพิธีต้อนรับผู้สำเร็จราชการเกาะอังกฤษฮ่องกง “เซอร์ จอห์น บาวริงก์” เข้ามาในประเทศสยาม เพื่อทำสนธิสัญญาสัมพันธ์พระราชไมตรี อย่างไรก็ตาม หากเราสังเกตการลงบันทึกทำเนียบ ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ บนกำแพง ตรงบันไดทางขึ้นชั้นสองศาลากลางจังหวัด รายชื่อลำดับที่ ๑ ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ คนแรก กลับบันทึกว่าเป็นพระยาอรรคราชนารถภักดี ทั้งนี้เพราะท่านมีนามเดิมสมัยเป็นผู้ว่าฯ ก็คือ พระยาสมุทรบุรานุรักษ์ (เนตร) ซึ่งเป็นบุตรของพระยาสมุทรบุรานุรักษ์ (เกิด) ในสกุล เนตรายน พระยาสมุทรบุรานุรักษ์ (เนตร) เป็นผู้หนึ่ง ที่ได้รับการยอมรับ ในผลงาน ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ด้วยความที่เคยได้รับพระราชทานโอกาส อันยากนัก ที่คนธรรมดาสามัญจะได้รับ คือ การได้ทุนการศึกษา ไปเรียนที่สิงคโปร์ ที่ซึ่งเป็นแหล่งฝึกปรือทางภาษา และวัฒนธรรมมากมาย ทั้งอังกฤษ จีนกลาง จีนฮกเกี้ยน จีน แต้จิ๋ว และมาลายู ทำให้ท่านมีคุณสมบัติมากพอ ที่จะต้องรับผิดชอบที่ด่านเมืองสมุทรปราการ อันเป็นเมืองที่ต้องให้การต้อนรับชาวต่างชาติที่เดินทางเข้าออกปากน้ำเจ้าพระยา เมื่อครั้งที่รัชกาลที่ ๕ เสด็จกลับจากประเทศสิงคโปร ได้โปรดเกล้าฯ ให้พระยาสมุทรบุรานุรักษ์ (เนตร) เป็นผู้แทนในการจัดส่งช้างสำริต พระราชทานแด่ประเทศสิงคโปร เพื่อเป็นการตอบแทนแห่งราชไมตรีที่ทรงได้รับ หน้าที่ของพระยาสมุทรบุรานุรักษ์จึงไม่ใช่เป็นเพียงตำแหน่งเจ้าเมืองเท่านั้น แต่ยังมีฐานะเป็นผู้แทนทางการทูตที่ประจำ ณ ด่านเมืองสมุทรปราการอีกด้วย ภายหลังพระยาสมุทรบุรานุรักษ์ (เนตร) จึงได้เลื่อนเป็น พระยาอรรคราชรถนาภักดี ในกระทรวงต่างประเทศ ธิดาท่านคนหนึ่ง คือเจ้าจอมมารดาวง ในรัชกาลที่ ๕ เป็นต้นสกุล “เนตรายน"
นายด่านเมืองปากน้ำอีกตำแหน่ง ที่ปรากฏในฐานะผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ มีราชทินนามว่า สมุทรบุรานุรักษ์ เป็นราชทินนามที่ปรากฏตั้งแต่สมัยกรุงธนบุรี เมื่อครั้งที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้บุคคลเชื้อสายแขกสุลัยมาน นามเดิมว่า หวัง บุนนาค ที่สืบเชื้อสายจากตระกูลรับราชการ มาแต่สมัยสมเด็จพระเอกาทศรฐ (พ.ศ.๒๑๔๘) ท่านเป็นผู้มีความชำนาญในการเดินเรือทางทะเล คำว่า สมุทรบุรานุรักษ์ จึงเป็นความหมายที่เกี่ยวกับทะเล แต่สมัยนั้นทรงโปรดให้ดำรงตำแหน่งเป็นทหารประจำที่เมืองสงขลา สมัยรัชกาลที่ ๑ จึงมีการโปรดเกล้าฯ ให้พระสมุทรบุรานุรักษ์ (หวัง) บุนนาค มาเป็นเจ้าเมืองชลบุรี ก่อนที่จะให้มาเป็นนายทหารเรือในกรุงเทพฯ การแต่งตั้งพระยาสมุทรบุรานุรักษ์ในตำแหน่งเจ้าเมืองสมุทรปราการ เพิ่งมีบันทึกในสมัยรัชกาลที่ ๔ คือ ท่านพระยาสมุทรบุรานุรักษ์ (เกิด)เนตรายน โดยปรากฏหลักฐานในปี พ.ศ. ๒๓๙๘ ในพิธีต้อนรับผู้สำเร็จราชการเกาะอังกฤษฮ่องกง “เซอร์ จอห์น บาวริงก์” เข้ามาในประเทศสยาม เพื่อทำสนธิสัญญาสัมพันธ์พระราชไมตรี อย่างไรก็ตาม หากเราสังเกตการลงบันทึกทำเนียบ ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ บนกำแพง ตรงบันไดทางขึ้นชั้นสองศาลากลางจังหวัด รายชื่อลำดับที่ ๑ ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ คนแรก กลับบันทึกว่าเป็นพระยาอรรคราชนารถภักดี ทั้งนี้เพราะท่านมีนามเดิมสมัยเป็นผู้ว่าฯ ก็คือ พระยาสมุทรบุรานุรักษ์ (เนตร) ซึ่งเป็นบุตรของพระยาสมุทรบุรานุรักษ์ (เกิด) ในสกุล เนตรายน พระยาสมุทรบุรานุรักษ์ (เนตร) เป็นผู้หนึ่ง ที่ได้รับการยอมรับ ในผลงาน ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ด้วยความที่เคยได้รับพระราชทานโอกาส อันยากนัก ที่คนธรรมดาสามัญจะได้รับ คือ การได้ทุนการศึกษา ไปเรียนที่สิงคโปร์ ที่ซึ่งเป็นแหล่งฝึกปรือทางภาษา และวัฒนธรรมมากมาย ทั้งอังกฤษ จีนกลาง จีนฮกเกี้ยน จีน แต้จิ๋ว และมาลายู ทำให้ท่านมีคุณสมบัติมากพอ ที่จะต้องรับผิดชอบที่ด่านเมืองสมุทรปราการ อันเป็นเมืองที่ต้องให้การต้อนรับชาวต่างชาติที่เดินทางเข้าออกปากน้ำเจ้าพระยา เมื่อครั้งที่รัชกาลที่ ๕ เสด็จกลับจากประเทศสิงคโปร ได้โปรดเกล้าฯ ให้พระยาสมุทรบุรานุรักษ์ (เนตร) เป็นผู้แทนในการจัดส่งช้างสำริต พระราชทานแด่ประเทศสิงคโปร เพื่อเป็นการตอบแทนแห่งราชไมตรีที่ทรงได้รับ หน้าที่ของพระยาสมุทรบุรานุรักษ์จึงไม่ใช่เป็นเพียงตำแหน่งเจ้าเมืองเท่านั้น แต่ยังมีฐานะเป็นผู้แทนทางการทูตที่ประจำ ณ ด่านเมืองสมุทรปราการอีกด้วย ภายหลังพระยาสมุทรบุรานุรักษ์ (เนตร) จึงได้เลื่อนเป็น พระยาอรรคราชรถนาภักดี ในกระทรวงต่างประเทศ ธิดาท่านคนหนึ่ง คือเจ้าจอมมารดาวง ในรัชกาลที่ ๕ เป็นต้นสกุล “เนตรายน"


Phra Chao Borommawong Ther Pra-ong-chao KOMOL SAWAMALA was born on 19th September,1887 as a daughter of King Rama V and Chaochommarnda Wong,Passed away on 19th April,1890 at the age of 3 years old.
Chao Chom Marnda Wong (Netrayana) เนตรายน which the surname was named by His Majesty the King,Rank of 4038 Some called Wongse.She was a daughter of Kruayai Aroon and Phraya Akkarachanartpakdee (Nete).From history,Kruayai Aroon is a second daughter of Luang Mahamontien(Jui)and Tan Noom.She was a Royal Thai Dancer and then was given a title as Chao Chom in the Reign of King Rama IV.At the end of King Rama IV,she resigned from her title and married to Khon Srisiamnukulkij(Nete).He was the assistance for General Consulate for Singapore.Later he was named Phraya
Samutburanurak and was the successor from his father's Governor of Samutprakarn Province.Leter
In the Reign of King Rama V,Krua Yai Aroon resumed her position as the Royal Dancing Teacher and was appointed as Royal Nanny for Toonkramomying Krommaluang Petchburirachasirinthorn.
Kruyai Aroon was born on Friday 5th Month,Year of Tiger,2385 and passed away on 15th may,2467
From the above story of Kruayai Aroon,We would like to add more interesting story of Phraya Akkarachanartpakdee who was her father as follows
Phraya Akkarachanartpakdee (Nete)was a son of Phraya Samutburanurak(Kert).He was one of not many student who had Royal Sponsor and studied in Singapore.When he had sufficient in English,He was appointed as Khon Srisiamnukulkij,second Consulate for Singapore.He was the first and only Thai who was Consulate for overseas at that period.
ChaoChommarnda Wong had only one daughter who was Phra-ong-chao-ying Komolsawamala,was born on 19th September,2430 and passed away on 18th April,2433.Her Royal Title at birth was Phrachaolookthur Phra-ong-chao Komolsawamala in the Reign of king Rama V.next title in the Reign of King Rama VI was Prachaonongnangthur Phra-ong-chao Komolsawamala(Named by H.M.Pramongkutklaochaoyuhua 23.10.2453/1910);next title in the Reign of H.M.Prapokklaochaoyuhua was Prapinangthur Pra-ong-choa Komolsawamala and in the Reign of H.M.Phraramanetharamaha Ananthamahidol was given the title as Prachaobromwongthur Phar-ong-chao-ying Komolsawamala (10.7.2476/1935).She was born on 19.9.2430/1867;and passed away 19.4.2433/1890(She was the daughter of Caoachommarnda Wong)
The name of Samutburanurak (Wang bonnak) was also the name of the Chief of Custom who he was also the Governor for Samutprakarn Province in the period of Thonburi for which at that period King Taksin was appointed all of Suraiman Race(former name;Wang bonnak).His ancestor used to work for King Akatossaros(2148).He had wide knowledge in Sailing (Samutburanurak means sea,navy,etc).He was appointed as soldier for Songkhla Province at that time.Later in the reign King Rama I he was appointed as the Governor for cholburi Province.
It was recorded in the Reign of King Rama IV,in the welcome ceremony for Governor for Hong Kong,Sir John Bowring,in the year of 2398 that Than Phraya Samutburanurak(Kert)'s name was written on the wall of second floor at the Government Building:1st name of the Government is Phraya Samutburanurak(Nete) who was the son of Phraya Samutburanurak(Kert)Netreyana(เนตรายน)
Phraya Samutburanurak who was hornored the rare chance of Royal sponsorship.He had wide knowledge of English and mandarin,Hogkian,Taechew and Malay languages.As the result for which he was appointed as the Governor for Samutprakarn Province which is the 2nd Capital city for thailand at that period. Later on he was appointed Phraya Akkarachnatpakdee and worked for Foreign Affairs ministry.One of his children is Chaochommarnda Wong,the consort of king RamaV,Who was the founder for Netrayana.(เนตรายน)




{{เกิดปี|2430}}{{ตายปี|2433}}
{{เกิดปี|2430}}{{ตายปี|2433}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:54, 29 มกราคม 2554

แม่แบบ:กล่องข้อมูล เจ้านายหรือพระบรมวงศานุวงศ์ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโกมลเสาวมาลย์ ประสูติวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2430 เป็นพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 กับเจ้าจอมมารดาวง สิ้นพระชนม์วันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2433 พระชันษา 3 ปี เจ้าจอมมารดาวง (เนตรายน) NETRA^YANAบางแห่งเขียนวงศ์ เป็นธิดาขรัวยายอรุ่น และพระยาอรรคราชนาถภักดี (เนตร) ขรัวยายอรุ่นนั้นตามประวัติว่าเป็นธิดาคนที่๒ของหลวงมหามณเฑียร (จุ้ย) และท่านนุ่ม ต่อมาได้ถวายตัวเป็นละคร แล้วเป็นเจ้าจอมในรัชกาลที่๔เมื่อสิ้นรัชกาลที่๔แล้ว ได้กราบถวายบังคมลาออกจากราชการ ไปสมรสกับขุนศรีสยามนุกูลกิจ (เนตร ) เวลานั้นเป็นผู้ช่วยกงสุลเยเนราลอยู่ที่เมืองสิงคโปร์ ต่อมาได้เป็นพระยาสมุทบุรานุรักษ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการแทนที่บิดา ภายหลังเลื่อนเป็นพระยาอรรคราชนารถภักดี รับราชการในกระทรวงต่างประเทศ ขรัวยายอรุ่นนั้นเมื่อถึงรัชกาลที่๕ ได้กลับเข้ามารับราชการเป็นครูละครที่ในพระบรมมหาราชวัง สมเด็จพระมาตุจฉาเจ้าพระบรมราชเทวี ได้ทรงพระกรุณาโปรดให้เป็นพระพี่เลี้ยงทูลกระหม่อมหญิง กรมหลวงเพ็ชรบุรีราชสิรินธร เมื่อเจ้าจอมมารดาวงมีพระเจ้าลูกเธอพระองค์เจ้าโกมลเสาวมาลย์ จึงได้เป็นขรัวยาย ขรัวยายอรุ่นเกิดเมื่อวันศุกร์ เดือน๕ ปีขาล พ.ศ. ๒๓๘๕ ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๗ กล่าวประวัติขรัวยายอรุ่นซึ่งเป็นมารดาเจ้าจอมมารดาวงมาแล้ว จะขอกล่าวประวัติพระยาอรรคราชนารถภักดี ผู้บิดาเพิ่มเติมอีกสักเล็กน้อย เพราะเป็นเรื่องน่ารู้ คือพระยาอรรคราชนารถภักดี (เนตร) เ ป็นบุตรพระยาสมุทบุรานุรักษ์ (เกิด) เมื่อรัชกาลที่๕ โปรดให้ออกไปศึกษาภาษาอังกฤษที่สิงคโปร์ ซึ่งในเวลานั้นก็น้อยตัวเต็มที่ เมื่อทราบภาษาอังกฤษพอควรแล้ว โปรดให้เป็นขุนศรีสยามนุกูลกิจ กงสุลที่๒ ประจำอยู่ที่สิงคโปร์ เป็นคนไทยคนแรกและคนเดียวที่ได้เป็นกงสุลไทยในต่างประเทศในสมัยนั้น เจ้าจอมมารดาวง มีพระองค์เจ้าคือ พระองค์เจ้าหญิงโกมลเสาวมาลย์ ประสูติวันที่ ๑๙กันยายน พ.ศ. ๒๔๓๐ สิ้นพระชนม์วันที่ ๑๙ เมษายน พ.ศ. ๒๔๓๓ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงโกมลเสาวมาลย์ (พระอิสริยยศเมื่อแรกประสูติ พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าโกมลเสาวมาลย์ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว; เฉลิมพระนามเมื่อสิ้นพระชนม์แล้วเป็น พระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้าโกมลเสาวมาลย์ โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว 23.10.24532/1910; เฉลิมพระนามเมื่อสิ้นพระชนม์แล้วเป็น พระเจ้าพี่นางเธอพระองค์เจ้าโกมลเสาวมาลย์ โดยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว 9.12.2468/1925;เฉลิมพระนามเมื่อสิ้นพระชนม์แล้วเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าหญิงโกมลเสาวมาลย์ โดยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล10.7.2476/1935)ประสูติ19.9.2430/1867;สิ้นพระชนม์19.4.2433/1890 (แต่เจ้าจอมมารดาวง)

นายด่านเมืองปากน้ำอีกตำแหน่ง ที่ปรากฏในฐานะผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ มีราชทินนามว่า สมุทรบุรานุรักษ์ เป็นราชทินนามที่ปรากฏตั้งแต่สมัยกรุงธนบุรี เมื่อครั้งที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้บุคคลเชื้อสายแขกสุลัยมาน นามเดิมว่า หวัง บุนนาค ที่สืบเชื้อสายจากตระกูลรับราชการ มาแต่สมัยสมเด็จพระเอกาทศรฐ (พ.ศ.๒๑๔๘) ท่านเป็นผู้มีความชำนาญในการเดินเรือทางทะเล คำว่า สมุทรบุรานุรักษ์ จึงเป็นความหมายที่เกี่ยวกับทะเล แต่สมัยนั้นทรงโปรดให้ดำรงตำแหน่งเป็นทหารประจำที่เมืองสงขลา สมัยรัชกาลที่ ๑ จึงมีการโปรดเกล้าฯ ให้พระสมุทรบุรานุรักษ์ (หวัง) บุนนาค มาเป็นเจ้าเมืองชลบุรี ก่อนที่จะให้มาเป็นนายทหารเรือในกรุงเทพฯ การแต่งตั้งพระยาสมุทรบุรานุรักษ์ในตำแหน่งเจ้าเมืองสมุทรปราการ เพิ่งมีบันทึกในสมัยรัชกาลที่ ๔ คือ ท่านพระยาสมุทรบุรานุรักษ์ (เกิด)เนตรายน โดยปรากฏหลักฐานในปี พ.ศ. ๒๓๙๘ ในพิธีต้อนรับผู้สำเร็จราชการเกาะอังกฤษฮ่องกง “เซอร์ จอห์น บาวริงก์” เข้ามาในประเทศสยาม เพื่อทำสนธิสัญญาสัมพันธ์พระราชไมตรี อย่างไรก็ตาม หากเราสังเกตการลงบันทึกทำเนียบ ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ บนกำแพง ตรงบันไดทางขึ้นชั้นสองศาลากลางจังหวัด รายชื่อลำดับที่ ๑ ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ คนแรก กลับบันทึกว่าเป็นพระยาอรรคราชนารถภักดี ทั้งนี้เพราะท่านมีนามเดิมสมัยเป็นผู้ว่าฯ ก็คือ พระยาสมุทรบุรานุรักษ์ (เนตร) ซึ่งเป็นบุตรของพระยาสมุทรบุรานุรักษ์ (เกิด) ในสกุล เนตรายน พระยาสมุทรบุรานุรักษ์ (เนตร) เป็นผู้หนึ่ง ที่ได้รับการยอมรับ ในผลงาน ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ด้วยความที่เคยได้รับพระราชทานโอกาส อันยากนัก ที่คนธรรมดาสามัญจะได้รับ คือ การได้ทุนการศึกษา ไปเรียนที่สิงคโปร์ ที่ซึ่งเป็นแหล่งฝึกปรือทางภาษา และวัฒนธรรมมากมาย ทั้งอังกฤษ จีนกลาง จีนฮกเกี้ยน จีน แต้จิ๋ว และมาลายู ทำให้ท่านมีคุณสมบัติมากพอ ที่จะต้องรับผิดชอบที่ด่านเมืองสมุทรปราการ อันเป็นเมืองที่ต้องให้การต้อนรับชาวต่างชาติที่เดินทางเข้าออกปากน้ำเจ้าพระยา เมื่อครั้งที่รัชกาลที่ ๕ เสด็จกลับจากประเทศสิงคโปร ได้โปรดเกล้าฯ ให้พระยาสมุทรบุรานุรักษ์ (เนตร) เป็นผู้แทนในการจัดส่งช้างสำริต พระราชทานแด่ประเทศสิงคโปร เพื่อเป็นการตอบแทนแห่งราชไมตรีที่ทรงได้รับ หน้าที่ของพระยาสมุทรบุรานุรักษ์จึงไม่ใช่เป็นเพียงตำแหน่งเจ้าเมืองเท่านั้น แต่ยังมีฐานะเป็นผู้แทนทางการทูตที่ประจำ ณ ด่านเมืองสมุทรปราการอีกด้วย ภายหลังพระยาสมุทรบุรานุรักษ์ (เนตร) จึงได้เลื่อนเป็น พระยาอรรคราชรถนาภักดี ในกระทรวงต่างประเทศ ธิดาท่านคนหนึ่ง คือเจ้าจอมมารดาวง ในรัชกาลที่ ๕ เป็นต้นสกุล “เนตรายน"