ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรมองโกเลีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
CarsracBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.4) (โรบอต แก้ไข: ar:كتابة مغولية
WikitanvirBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต แก้ไข: zh:蒙古字母
บรรทัด 45: บรรทัด 45:
[[mn:Монгол бичиг]]
[[mn:Монгол бичиг]]
[[ru:Старомонгольское письмо]]
[[ru:Старомонгольское письмо]]
[[zh:胡都木蒙古]]
[[zh:蒙古字母]]
[[zh-classical:蒙古文字]]
[[zh-classical:蒙古文字]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:46, 23 มกราคม 2554

อักษรมองโกเลีย
ชนิดอักษรสระ-พยัญชนะ
ภาษาพูดภาษามองโกเลีย
ภาษาเอเวนค์
ช่วงยุคประมาณ พ.ศ. 1747 (ค.ศ. 1204)–ปัจจุบัน
ระบบแม่
ระบบลูกอักษรแมนจู
อักษรโตโด (Clear script)
Vaghintara script
ช่วงยูนิโคดU+1800–U+18AF
ISO 15924Mong
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด

อักษรมองโกเลีย ([[[Image:Monggol bicig.svg|17px]] Mongγol bičig, ซีริลลิก: Монгол бичиг, Mongol bichig] ข้อผิดพลาด: {{Lang-xx}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษามองโกเลีย

เมื่อพ.ศ. 1751 เจงกิสข่านรบชนะไนมันและนำอักษรอุยกูร์ ตาตาร์-ตอนกา ซึ่งต่อมาพัฒนาเป็นอักษรอุยกูร์ มาเขียนภาษามองโกเลีย อักษรอุยกูร์เหล่านี้มาจากอักษรซอกเดีย ที่มาจากอักษรอราเมอิกอีกต่อหนึ่ง

ระหว่างพ.ศ. 1800 – 2000 ภาษามองโกเลียเขียนด้วยอักษรจีน อักษรอาหรับและอักษรพัก-ปา ในช่วงที่ได้รับอิทธิพลจากสหภาพโซเวียต ภาษามองโกเลียเขียนด้วยอักษรละตินเมื่อ พ.ศ. 2474 และใช้อักษรซีริลลิกเมื่อ พ.ศ. 2480 ใน พ.ศ. 2484 รัฐบาลออกกฎหมายล้มเลิกอักษรมองโกเลีย แต่ได้มีการฟื้นฟูอักษรดังกล่าวอีกเมื่อ พ.ศ. 2537 ปัจจุบันมีการสอนการใช้อักษรนี้ในโรงเรียน ประชาชนราวครึ่งหนึ่งในมองโกเลียรู้อักษรนี้นิดหน่อยหรือไม่รู้เลย ส่วนใหญ่จะอ่านได้เฉพาะอักษรซีริลลิก อักษรมองโกเลียนี้ยังใช้อยู่ในเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน ในประเทศจีน

อักษรนี้แยกสระและพยัญชนะออกจากกัน เขียนในแนวตั้งจากบนลงล่าง บรรทัดจากซ้ายไปขวา ซึ่งต่างจากอักษรที่เขียนในแนวตั้งอื่นๆที่มักจะเขียนจากขวาไปซ้าย อักษรมีรูปร่างต่างกันขึ้นกับตำแหน่งภายในคำ

อ้างอิง