ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาวนา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Beojaan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
{{พุทธศาสนา}}
'''ภาวนา''' แปลว่า ''การเจริญ การอบรม การทำให้มีให้เป็น''ขึ้น
'''ภาวนา''' แปลว่า ''การเจริญ การอบรม การทำให้มีให้เป็น''ขึ้น หมายถึง การทำจิตใจให้สงบและทำ[[ปัญญา]]ให้เกิดขึ้น ด้วยการฝึกฝนอบรมจิตไปตามแบบที่ท่านกำหนดไว้ ซึ่งเรียกชื่อไปต่างๆ เช่น การบำเพ็ญ[[กรรมฐาน]] การทำ[[สมาธิ]] การเจริญภาวนา การเจริญจิตภาวนา

'''ภาวนา''' หมายถึงการทำจิตใจให้สงบและทำ[[ปัญญา]]ให้เกิดขึ้น ด้วยการฝึกฝนอบรมจิตไปตามแบบที่ท่านกำหนดไว้ ซึ่งเรียกชื่อไปต่างๆ เช่น การบำเพ็ญ[[กรรมฐาน]] การทำ[[สมาธิ]] การเจริญภาวนา การเจริญจิตภาวนา


'''ภาวนา''' ในทางปฏิบัติท่านแบ่งไว้ ๒ แบบใหญ่ๆ คือ
'''ภาวนา''' ในทางปฏิบัติท่านแบ่งไว้ ๒ แบบใหญ่ๆ คือ
บรรทัด 14: บรรทัด 12:
==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
[[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด'', [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
[[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด'', [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548

[[หมวดหมู่:พุทธศาสนา]]
[[หมวดหมู่:หลักธรรมในพุทธศาสนา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:17, 22 พฤศจิกายน 2549

ภาวนา แปลว่า การเจริญ การอบรม การทำให้มีให้เป็นขึ้น หมายถึง การทำจิตใจให้สงบและทำปัญญาให้เกิดขึ้น ด้วยการฝึกฝนอบรมจิตไปตามแบบที่ท่านกำหนดไว้ ซึ่งเรียกชื่อไปต่างๆ เช่น การบำเพ็ญกรรมฐาน การทำสมาธิ การเจริญภาวนา การเจริญจิตภาวนา

ภาวนา ในทางปฏิบัติท่านแบ่งไว้ ๒ แบบใหญ่ๆ คือ

  1. สมถภาวนา การอบรมจิตใจให้สงบ ซึ่งได้แก่สมถกรรมฐานนั่นเอง เรียกว่า จิตภาวนา ก็ได้
  2. วิปัสสนาภาวนา การอบรมปัญญาให้เกิด ซึ่งได้แก่วิปัสสนากรรมฐานนั่นเอง เรียกว่า ปัญญาภาวนา ก็ได้

ภาวนา เป็นบุญอย่างหนึ่ง เรียกว่าภาวนามัย คือบุญที่เกิดจากการภาวนา


อ้างอิง

พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548