ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประสาท สุขุม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
สังคายนา/2
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
'''ประสาท สุขุม''' เป็นบุตรของ [[เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)]] กับ [[ท่านผู้หญิงตลับ ( สกุลเดิม ณ ป้อมเพชร )]]
'''ประสาท สุขุม''' เป็นบุตรของ [[เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)]] กับ [[ท่านผู้หญิงตลับ ( สกุลเดิม ณ ป้อมเพชร )]]
มีพี่น้องดังรายนามคือ
มีพี่น้องดังรายนามคือ


*พระยาสุขุมนัยวินิต ( สวาสดิ์ )
* พระยาสุขุมนัยวินิต ( สวาสดิ์ )
*ไสว สุขุม
* ไสว สุขุม
*แปลก สุขุม
* แปลก สุขุม
*หลวงพิสิษฐสุขุมการ ( ประพาส )
* หลวงพิสิษฐสุขุมการ ( ประพาส )
*พระพิศาลสุขุมวิท ( ประสบ )
* พระพิศาลสุขุมวิท ( ประสบ )
*ประสาท สุขุม
* ประสาท สุขุม
*หลวงสุขุมนัยประดิษฐ์ ( ประดิษฐ์ )
* หลวงสุขุมนัยประดิษฐ์ ( ประดิษฐ์ )
*ประวัติ สุขุม
* ประวัติ สุขุม
*เล็ก สุขุม
* เล็ก สุขุม
*คุณหญิงประจวบ สุขุม
* คุณหญิงประจวบ สุขุม


สมรสกับ [[เจ้าพรรณคำ ณ เชียงใหม่]] อดีตข้าหลวงในพระวิมาดาเธอ กรมพระสุทธาสินีนาฎ ปิยมหาราชปดิวรัดา
สมรสกับ [[เจ้าพรรณคำ ณ เชียงใหม่]] อดีตข้าหลวงในพระวิมาดาเธอ กรมพระสุทธาสินีนาฎ ปิยมหาราชปดิวรัดา

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:47, 5 ธันวาคม 2553

ประสาท สุขุม เป็นบุตรของ เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม) กับ ท่านผู้หญิงตลับ ( สกุลเดิม ณ ป้อมเพชร ) มีพี่น้องดังรายนามคือ

  • พระยาสุขุมนัยวินิต ( สวาสดิ์ )
  • ไสว สุขุม
  • แปลก สุขุม
  • หลวงพิสิษฐสุขุมการ ( ประพาส )
  • พระพิศาลสุขุมวิท ( ประสบ )
  • ประสาท สุขุม
  • หลวงสุขุมนัยประดิษฐ์ ( ประดิษฐ์ )
  • ประวัติ สุขุม
  • เล็ก สุขุม
  • คุณหญิงประจวบ สุขุม

สมรสกับ เจ้าพรรณคำ ณ เชียงใหม่ อดีตข้าหลวงในพระวิมาดาเธอ กรมพระสุทธาสินีนาฎ ปิยมหาราชปดิวรัดา

เป็น ช่างกล้องถ่ายภาพยนตร์ และเป็นสมาชิกในสมาคมช่างถ่ายภาพยนตร์อเมริกัน (American Society of Cinematographer : A.S.C.) ซึ่งเป็นคนไทยคนแรกได้ไปเรียนและฝึกงานการถ่ายทำภาพยนตร์ในโรงถ่ายภาพยนตร์ที่ฮอลลีวู้ด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2466 รุ่นเดียวกับ เจมส์ หว่อง โห ตากล้องชาวจีน

ประสาท สุขุม เป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้ง บริษัทไทยฟิล์ม ร่วมกับ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล และนายพจน์ สารสิน เมื่อ พ.ศ. 2481 สร้างภาพยนตร์ขึ้น 3 เรื่อง คือ ถ่านไฟเก่า (2481), แม่สื่อสาว (2481) และ วันเพ็ญ (2482) ก่อนจะขายกิจการและโรงถ่ายให้แก่กองทัพอากาศไทย ไปใน พ.ศ. 2483