ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟุตบอลทีมชาติตุรกี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 48: บรรทัด 48:
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


{{ฟุตบอลทีมชาติ ยูฟ่า}}
[[หมวดหมู่:ฟุตบอลทีมชาติ|ตุรกี]]
[[หมวดหมู่:ฟุตบอลทีมชาติ|ตุรกี]]
[[หมวดหมู่:ประเทศตุรกี]]
[[หมวดหมู่:ประเทศตุรกี]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:26, 4 ธันวาคม 2553

ตุรกี
Shirt badge/Association crest
ฉายาAy Yıldızlar (The Crescent Stars)
สมาคมสมาพันธ์ฟุตบอลตุรกี
สมาพันธ์ยูฟ่า (ยุโรป)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนGuus Hiddink
ผู้ช่วยผู้ฝึกสอนOğuz Çetin
กัปตันEmre Belözoğlu
ติดทีมชาติสูงสุดRüştü Reçber (119)
ทำประตูสูงสุดHakan Şükür (51)
รหัสฟีฟ่าTUR
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน29
อันดับสูงสุด5 (มิถุนายน 2004)
อันดับต่ำสุด67 (ตุลาคม 1993)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ตุรกี Turkey 2–2 โรมาเนีย ธงชาติโรมาเนีย
(Istanbul, Turkey; 26 ตุลาคม 1923)[1]
ชนะสูงสุด
ตุรกี Turkey 7–0 ซีเรีย ธงชาติซีเรีย
(Ankara, Turkey; 20 พฤศจิกายน 1949)
ตุรกี Turkey 7–0 เกาหลีใต้ ธงชาติเกาหลีใต้
(Geneva, Switzerland; 20 มิถุนายน 1954)
ตุรกี Turkey 7–0 ซานมารีโน ธงชาติซานมารีโน
(Istanbul, Turkey; 10 พฤศจิกายน 1996)
แพ้สูงสุด
ธงชาติโปแลนด์ โปแลนด์ 8–0 Turkey ตุรกี
(Chorzów, Poland; 24 เมษายน 1968)
ตุรกี Turkey 0–8 อังกฤษ ธงชาติอังกฤษ
(Istanbul, Turkey; 14 พฤศจิกายน 1984)
ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ 8–0 Turkey ตุรกี
(London, England; 14 ตุลาคม 1987)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม2 (ครั้งแรกใน 1954)
ผลงานดีที่สุดที่ 3, 2002
European Championship
เข้าร่วม3 (ครั้งแรกใน 1996)
ผลงานดีที่สุดรอบรองชนะเลิศ, 2008
คอนเฟเดอเรชันส์คัพ
เข้าร่วม1 (ครั้งแรกใน 2003)
ผลงานดีที่สุดที่ 3, 2003

ฟุตบอลทีมชาติตุรกี (ตุรกี: Türkiye Millî Futbol Takımı) เป็นตัวแทนทีมฟุตบอลของทีมชาติตุรกี ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลตุรกี ทีมชาติตุรกีเข้าร่วมกับสมาคมฟุตบอลยุโรป ทีมติดอยู่ในการจัดอันดับโลกฟีฟ่าที่อันดับ 29[2] ปัจจุบันหัวหน้าโค้ชคือ กุส ฮิดดิงค์

ทีมชาติตุรกีเข้าสู่รอบสุดท้ายของฟุตบอลโลก 3 ครั้ง ในปี 1950, 1954 และ 2002 แต่ในปี 1950 ทีมได้ถอนตัวออกจากการแข่งขัน นอกจากนั้นยังเข้าสู่รอบสุดท้ายของฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป ในปี 1996, 2000 และ 2008 ทีมเข้าสู่รอบรองชนะเลิศในการแข่งขันใหญ่ ๆ ทั้ง 3 คือในฟุตบอลโลก 2002, คอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2003 และ ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2008

อ้างอิง

  1. Since the Republic was not formally declared by the time of the event, the game was played between Romania and TFF. The city also was not consistently known as Istanbul in the English speaking world until 1930
  2. "FIFA/Coca-Cola World Ranking". สืบค้นเมื่อ 2010-09-15.