ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎข้อที่ศูนย์ของอุณหพลศาสตร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: es:Principio cero de la termodinámica
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
'''กฎข้อที่ศูนย์ของอุณหพลศาสตร์''' (The zeroth law of thermodynamics) กล่าวถึง[[สภาวะสมดุลทางอุณหพลศาสตร์]]. โดยสามารถสรุปได้ดังนี้
'''กฎข้อที่ศูนย์ของอุณหพลศาสตร์''' ({{lang-en|The zeroth law of thermodynamics}}) กล่าวถึง[[สภาวะสมดุลทางอุณหพลศาสตร์]] โดยสามารถสรุปได้ว่า "ถ้าระบบ A และ B อยู่ในภาวะสมดุลทางอุณหพลศาสตร์ และระบบ B และ C อยู่ในสภาวะสมดุลทางอุณหพลศาสตร์แล้ว ระบบ A และ C จะอยู่ในภาวะสมดุลทางอุณหพลศาสตร์ด้วยเช่นกัน"

''ถ้าระบบ A และ B อยู่ในภาวะสมดุลทางอุณหพลศาสตร์ และระบบ B และ C อยู่ในสภาวะสมดุลทางอุณหพลศาสตร์แล้ว ระบบ A และ C จะอยู่ในภาวะสมดุลทางอุณหพลศาสตร์ด้วยเช่นกัน''


กล่าวโดยสรุปก็คือภาวะสมดุลทางอุณหพลศาสตร์มี ''คุณสมบัติถ่ายทอด'' ได้นั่นเอง. อนึ่ง ที่มาของชื่อ กฎข้อศูนย์ นี้มีที่มาจากการที่[[นักวิทยาศาสตร์]]คิดว่ากฎข้อนี้เป็นรากฐานที่สำคัญต่อกฎข้อที่หนึ่ง จึงต้องการจะให้ตัวเลขชื่อกฎอยู่ต่ำกว่ากฎข้อที่หนึ่ง แต่เนื่องจากกฎข้อนี้เพิ่งจะถูกตระหนักถึงความสำคัญเมื่อหลังจากกฎข้อที่หนึ่งและสองมีชื่อเสียงมานานมากแล้ว นักวิทยาศาสตร์จึงตัดสินใจไม่เปลี่ยนลำดับตัวเลข และตั้งให้กฎข้อนี้เป็นกฎข้อที่ศูนย์.
กล่าวโดยสรุปก็คือภาวะสมดุลทางอุณหพลศาสตร์มี ''คุณสมบัติถ่ายทอด'' ได้นั่นเอง. อนึ่ง ที่มาของชื่อ กฎข้อศูนย์ นี้มีที่มาจากการที่[[นักวิทยาศาสตร์]]คิดว่ากฎข้อนี้เป็นรากฐานที่สำคัญต่อกฎข้อที่หนึ่ง จึงต้องการจะให้ตัวเลขชื่อกฎอยู่ต่ำกว่ากฎข้อที่หนึ่ง แต่เนื่องจากกฎข้อนี้เพิ่งจะถูกตระหนักถึงความสำคัญเมื่อหลังจากกฎข้อที่หนึ่งและสองมีชื่อเสียงมานานมากแล้ว นักวิทยาศาสตร์จึงตัดสินใจไม่เปลี่ยนลำดับตัวเลข และตั้งให้กฎข้อนี้เป็นกฎข้อที่ศูนย์.



[[หมวดหมู่:อุณหพลศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:อุณหพลศาสตร์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:25, 31 ตุลาคม 2553

กฎข้อที่ศูนย์ของอุณหพลศาสตร์ (อังกฤษ: The zeroth law of thermodynamics) กล่าวถึงสภาวะสมดุลทางอุณหพลศาสตร์ โดยสามารถสรุปได้ว่า "ถ้าระบบ A และ B อยู่ในภาวะสมดุลทางอุณหพลศาสตร์ และระบบ B และ C อยู่ในสภาวะสมดุลทางอุณหพลศาสตร์แล้ว ระบบ A และ C จะอยู่ในภาวะสมดุลทางอุณหพลศาสตร์ด้วยเช่นกัน"

กล่าวโดยสรุปก็คือภาวะสมดุลทางอุณหพลศาสตร์มี คุณสมบัติถ่ายทอด ได้นั่นเอง. อนึ่ง ที่มาของชื่อ กฎข้อศูนย์ นี้มีที่มาจากการที่นักวิทยาศาสตร์คิดว่ากฎข้อนี้เป็นรากฐานที่สำคัญต่อกฎข้อที่หนึ่ง จึงต้องการจะให้ตัวเลขชื่อกฎอยู่ต่ำกว่ากฎข้อที่หนึ่ง แต่เนื่องจากกฎข้อนี้เพิ่งจะถูกตระหนักถึงความสำคัญเมื่อหลังจากกฎข้อที่หนึ่งและสองมีชื่อเสียงมานานมากแล้ว นักวิทยาศาสตร์จึงตัดสินใจไม่เปลี่ยนลำดับตัวเลข และตั้งให้กฎข้อนี้เป็นกฎข้อที่ศูนย์.