ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เขตอัครบิดร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink
อาณาจักรพาทริอาค→เขตอัครบิดร, สังฆราช→มุขนายก
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ= |สำหรับ= |ดูที่=พาทริอาคแห่งตะวันออก |เปลี่ยนทาง=}}
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ= |สำหรับ= |ดูที่=พาทริอาคแห่งตะวันออก |เปลี่ยนทาง=}}
{{คริสต์}}
{{คริสต์}}
'''อาณาจักรพาทริอาค''' ({{lang-en|Patriarchate}}) เป็นตำแหน่งหรือเขตปกครองของ[[พาทริอาค]] (Patriarch) หรือ [[สังฆราช (คริสต์ศาสนา)|สังฆราช]]ของ[[คริสต์ศาสนา]]
'''เขตอัครบิดร'''<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน">ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 375-6</ref> ({{lang-en|Patriarchate}}) เป็นเขตปกครองของ[[อัครบิดร]] (Patriarch) หรือ [[มุขนายก]]ของ[[คริสต์ศาสนา]]


คำว่า “พาทริอาค” อาจจะใช้สำหรับ
คำว่า “อัครบิดร” อาจจะใช้สำหรับ


* หนึ่งในตำแหน่งประมุขสูงสุดของ “[[สังฆราช (คริสต์ศาสนา)|สังฆราช]]” ของ[[อีสเติร์นออร์โธด็อกซ์]]ที่เดิมมีห้าตำแหน่งที่รวมทั้งสังฆราชแห่ง[[โรม]], [[คอนสแตนติโนเปิล]], [[อเล็กซานเดรีย]], [[อันติโอค]], และ [[เยรูซาเลม]] แต่ปัจจุบันมีเก้าตำแหน่งที่รวมทั้งสังฆราชแห่ง[[เซอร์เบีย]], [[รัสเซีย]], [[ประเทศจอร์เจีย|จอร์เจีย]], [[บัลแกเรีย]] และ [[โรมาเนีย]]; หรือ
* หนึ่งในตำแหน่งประมุขสูงสุดของ “[[มุขนายก]]” ของ[[อีสเติร์นออร์โธด็อกซ์]]ที่เดิมมีห้าตำแหน่งที่รวมทั้งมุขนายกมิสซัง[[โรม]], [[คอนสแตนติโนเปิล]], [[อเล็กซานเดรีย]], [[อันติโอค]], และ [[เยรูซาเลม]] แต่ปัจจุบันมีเก้าตำแหน่ง โดยรวมมุขนายกมิสซัง[[เซอร์เบีย]], [[รัสเซีย]], [[ประเทศจอร์เจีย|จอร์เจีย]], [[บัลแกเรีย]] และ [[โรมาเนีย]]


* หนึ่งในตำแหน่งสูงสุดสังฆราชของ[[โรมันคาทอลิก]]: [[พระสันตะปาปา]], “[[พาทริอาคแห่งตะวันออก]]” (Patriarchs of the east) หกตำแหน่ง, และ[[สังฆราชแห่งลิสบอน]], [[สังฆราชแห่งเวนิส]], [[สังฆราชลาตินแห่งเยรูซาเลม]] และ [[สังฆราชแห่งอินเดียตะวันออก]]; หรือ
* หนึ่งในตำแหน่งสูงสุดมุขนายกของ[[โรมันคาทอลิก]] ได้แก่ [[สมเด็จพระสันตะปาปา]], “[[อัครบิดรแห่งตะวันออก]]” (Patriarchs of the east) หกตำแหน่ง, และ[[มุขนายกมิสซังลิสบอน]], [[มุขนายกมิสซังเวนิส]], [[มุขนายกลาตินแห่งเยรูซาเลม]] และ [[มุขนายกมิสซังอินเดียตะวันออก]]


* หนึ่งในตำแหน่งสังฆราชของ[[โอเรียนทัลออร์โธด็อกซ์]] และ [[อัสสีเรียนเชิร์ชออฟเดอะอีสต์]] (Assyrian Church of the East)
* หนึ่งในตำแหน่งมุขนายกของ[[โอเรียนทัลออร์โธด็อกซ์]] และ [[อัสสีเรียนเชิร์ชออฟเดอะอีสต์]] (Assyrian Church of the East)


==ประวัติ==
ตำแหน่ง[[ห้าสังฆราช]] (Pentarchy) เดิมประกอบด้วย[[พระสันตะปาปาแห่งโรม]], [[พาทริอาคแห่งคอนสแตนติโนเปิล]], [[พาทริอาคแห่งอเล็กซานเดรีย]], [[พาทริอาคแห่งอันติโอค]] และ [[พาทริอาคแห่งเยรูซาเลม]] ในปี ค.ศ. 1054 เมื่อเกิด[[ความแตกแยกระหว่างคริสต์ศาสนจักรตะวันออกและตะวันตก]] (East-West Schism) ระบบนี้ก็แยกออกเป็นอาณาจักรพาทริอาคที่พูดภาษาลาตินหนึ่งอาณาจักรในกรุงโรมที่เป็น[[โรมันคาทอลิก]] และอาณาจักรพาทริอาคที่พูดภาษากรีกสี่อาณาจักรที่เป็น[[อีสเติร์นออร์โธด็อกซ์]] [[พาทริอาคแห่งอันติโอค]]ย้ายสำนักไป[[ดามัสกัส]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ในระหว่างสมัยการปกครองของ[[มามลุค]][[อียิปต์]]ผู้พิชิต[[ซีเรีย]] แม้ว่าจะตั้งอยู่ในดามัสกัสแต่ตำแหน่งของสังฆราชก็ยังเรียกว่า[[พาทริอาคแห่งอันติโอค]]
ตำแหน่ง[[อัครบิดร]] (Pentarchy) เดิมมี 5 ตำแหน่ง ประกอบด้วย[[สมเด็จพระสันตะปาปา]]ซึ่งเป็นอัครบิดรแห่งโรม, [[อัครบิดรแห่งคอนสแตนติโนเปิล]], [[อัครบิดรแห่งอเล็กซานเดรีย]], [[อัครบิดรแห่งอันติโอค]] และ [[อัครบิดรแห่งเยรูซาเลม]] ในปี ค.ศ. 1054 เกิด[[ความแตกแยกระหว่างคริสต์ศาสนจักรตะวันออกและตะวันตก]] (East-West Schism) ทำให้คริสตจักรแยกออกเป็นเขตอัครบิดรที่ใช้ภาษาลาติน คือ[[นิกายโรมันคาทอลิก]]ในปัจจุบัน และสี่เขตอัครบิดรที่ใช้ภาษากรีกอาณาจักรซึ่งเป็นนิกาย[[อีสเติร์นออร์โธด็อกซ์]]ในปัจจุบัน ส่วน[[อัครบิดรแห่งอันติโอค]]ย้ายสำนักไปตั้งที่[[ดามัสกัส]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ในระหว่างสมัยการปกครองของ[[มามลุค]][[อียิปต์]]ผู้พิชิต[[ซีเรีย]] แม้ว่าจะตั้งอยู่ในดามัสกัสแล้ว แต่ตำแหน่งนี้ก็ยังเรียกว่า[[อัครบิดรแห่งอันติโอค]]


ตำแหน่งสังฆราชสี่ตำแหน่งสี่ตำแหน่งทางตะวันออกของ[[คอนสแตนติโนเปิล]], [[อเล็กซานเดรีย]], [[อันติโอค]], และ [[เยรูซาเลม]] และหนึ่งตำแหน่งทางตะวันตกใน[[กรุงโรม]]ถือกันว่าเป็นตำแหน่งสังฆราช “อาวุโส” ({{lang-el|πρεσβυγενή หรือ παλαίφατα}} หรือ “ผู้เกิดก่อน” [http://www.perseus.tufts.edu/cgi-bin/ptext?doc=Perseus%3Atext%3A1999.04.0057%3Aentry%3D%2376800 "of ancient fame"]) โดยแต่ละตำแหน่งก็มีหนึ่งใน[[อัครสาวกสิบสององค์|อัครสาวก]]เป็นอัครสาวกองค์แรก: [[นักบุญแอนดรูว์]], [[นักบุญมาร์ค]], [[นักบุญปีเตอร์]], [[นักบุญเจมส์]] และ[[นักบุญปีเตอร์]]อีกครั้งตามลำดับ
ตำแหน่งอัครบิดรของออร์ทอดอกซ์ทั้งสี่ อันได้แก่ [[คอนสแตนติโนเปิล]], [[อเล็กซานเดรีย]], [[อันติโอค]], และ [[เยรูซาเลม]] และหนึ่งตำแหน่งทางตะวันตกใน[[กรุงโรม]]ถือกันว่าเป็นตำแหน่งสังฆราช “อาวุโส” ({{lang-el|πρεσβυγενή หรือ παλαίφατα}} หรือ “ผู้เกิดก่อน” [http://www.perseus.tufts.edu/cgi-bin/ptext?doc=Perseus%3Atext%3A1999.04.0057%3Aentry%3D%2376800 "of ancient fame"]) โดยแต่ละตำแหน่งก็มีหนึ่งใน[[อัครสาวกสิบสององค์|อัครสาวก]]เป็นอัครสาวกองค์แรก: [[นักบุญแอนดรูว์]], [[นักบุญมาร์ค]], [[นักบุญปีเตอร์]], [[นักบุญเจมส์]] และ[[นักบุญปีเตอร์]]อีกครั้งตามลำดับ


อาณาจักรพาทริอาคมีอำนาจทางกฎหมายในเขตการปกครองของตนเองที่คล้ายคลึงกับการเป็น[[บรรษัท]] (corporation) ที่ดำเนินต่อเนื่องกันมาตั้งแต่สมัยคริสเตียนยุคแรก
'''ตำแหน่งปกครองของอัครบิดร''' (Patriarchate) มีอำนาจทางกฎหมายในเขตการปกครองของตนเองที่คล้ายคลึงกับการเป็น[[บรรษัท]] (corporation) ที่ดำเนินต่อเนื่องกันมาตั้งแต่สมัยคริสเตียนยุคแรก


นอกไปจากอาณาจักรพาทริอาคอย่างเป็นทางการเก้าแห่งแล้วก็ยังมีสังฆมณฑลที่เรียกตนเองว่าเป็น “อาณาจักรพาทริอาค” อยู่บ้างเช่น [[อาณาจักรพาทริอาคแห่งอคริดา]] (Patriarchate of Achrida) ที่ปัจจุบันอยู่ใน[[โอห์ริด]] (Ohrid) ใน[[ประเทศมาซิโดเนีย]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:12, 17 ตุลาคม 2553

เขตอัครบิดร[1] (อังกฤษ: Patriarchate) เป็นเขตปกครองของอัครบิดร (Patriarch) หรือ มุขนายกของคริสต์ศาสนา

คำว่า “อัครบิดร” อาจจะใช้สำหรับ

ประวัติ

ตำแหน่งอัครบิดร (Pentarchy) เดิมมี 5 ตำแหน่ง ประกอบด้วยสมเด็จพระสันตะปาปาซึ่งเป็นอัครบิดรแห่งโรม, อัครบิดรแห่งคอนสแตนติโนเปิล, อัครบิดรแห่งอเล็กซานเดรีย, อัครบิดรแห่งอันติโอค และ อัครบิดรแห่งเยรูซาเลม ในปี ค.ศ. 1054 เกิดความแตกแยกระหว่างคริสต์ศาสนจักรตะวันออกและตะวันตก (East-West Schism) ทำให้คริสตจักรแยกออกเป็นเขตอัครบิดรที่ใช้ภาษาลาติน คือนิกายโรมันคาทอลิกในปัจจุบัน และสี่เขตอัครบิดรที่ใช้ภาษากรีกอาณาจักรซึ่งเป็นนิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ในปัจจุบัน ส่วนอัครบิดรแห่งอันติโอคย้ายสำนักไปตั้งที่ดามัสกัสในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ในระหว่างสมัยการปกครองของมามลุคอียิปต์ผู้พิชิตซีเรีย แม้ว่าจะตั้งอยู่ในดามัสกัสแล้ว แต่ตำแหน่งนี้ก็ยังเรียกว่าอัครบิดรแห่งอันติโอค

ตำแหน่งอัครบิดรของออร์ทอดอกซ์ทั้งสี่ อันได้แก่ คอนสแตนติโนเปิล, อเล็กซานเดรีย, อันติโอค, และ เยรูซาเลม และหนึ่งตำแหน่งทางตะวันตกในกรุงโรมถือกันว่าเป็นตำแหน่งสังฆราช “อาวุโส” (กรีก: πρεσβυγενή หรือ παλαίφατα หรือ “ผู้เกิดก่อน” "of ancient fame") โดยแต่ละตำแหน่งก็มีหนึ่งในอัครสาวกเป็นอัครสาวกองค์แรก: นักบุญแอนดรูว์, นักบุญมาร์ค, นักบุญปีเตอร์, นักบุญเจมส์ และนักบุญปีเตอร์อีกครั้งตามลำดับ

ตำแหน่งปกครองของอัครบิดร (Patriarchate) มีอำนาจทางกฎหมายในเขตการปกครองของตนเองที่คล้ายคลึงกับการเป็นบรรษัท (corporation) ที่ดำเนินต่อเนื่องกันมาตั้งแต่สมัยคริสเตียนยุคแรก


อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 375-6
  • Catholic Encyclopedia: Patriarch and Patriarchate[1]

ดูเพิ่ม