ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบริโภค"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
Sazaja (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
* [[สาธารณูปโภค]]
* [[สาธารณูปโภค]]


[[หมวดหมู่:เศรษฐศาสตร์]]
{{โครง}}
{{โครงเศรษฐศาสตร์}}

[[ar:استهلاك]]
[[bn:ভোগ]]
[[bg:Потребление]]
[[ca:Consum]]
[[cs:Spotřeba]]
[[da:Forbrug (økonomi)]]
[[de:Konsum]]
[[en:Consumption (economics)]]
[[et:Tarbimine]]
[[es:Consumo]]
[[eo:Konsumo]]
[[fr:Consommation]]
[[ko:소비]]
[[io:Konsumo]]
[[it:Consumo]]
[[ka:მოხმარება]]
[[lo:ການຊົມໃຊ້]]
[[lt:Konsumpcija]]
[[hu:Fogyasztás]]
[[mk:Потреба]]
[[nl:Consumptie]]
[[ja:消費]]
[[no:Konsum]]
[[nn:Forbruk]]
[[pl:Konsumpcja]]
[[pt:Consumo]]
[[ru:Потребление]]
[[sk:Spotreba (ekonómia)]]
[[fi:Kulutus]]
[[sv:Konsumtion]]
[[tl:Pagkonsumo]]
[[ta:நுகர்வு]]
[[tr:Tüketim]]
[[ur:صرف]]
[[vi:Tiêu dùng]]
[[zh:消费]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:40, 25 กันยายน 2553

การบริโภค เมื่อกล่าวขึ้นอย่างลอยๆ อาจหมายถึง การรับประทานอาหาร แท้จริงแล้วการบริโภคนั้นมีความหมายว่า การใช้สิ่งที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ต่อตัวเอง โดยสิ่งที่มีอยู่นั้นจะเสื่อมสภาพ ร่อยหรอ หรือหมดไปในชั่วระยะเวลาหนึ่ง และอาจต้องหาสิ่งใหม่มาเพิ่มเติมเมื่อต้องการใช้อีก มักใช้คู่กับคำว่า การอุปโภค หมายถึงการใช้สิ่งที่มีอยู่แต่จะไม่หมดไป หรือสามารถทดแทนได้เรื่อยๆ โดยไม่ต้องไปสรรหา รวมเป็น การอุปโภคบริโภค แต่ผู้ที่สามารถทำทั้งการบริโภคและการอุปโภคจะเรียกว่า ผู้บริโภค เพียงอย่างเดียว

ในทางเศรษฐศาสตร์ สินค้าและบริการสามารถนับเป็น สิ่งที่มีอยู่ ได้เช่นกัน ถึงแม้ว่าบริการจะเป็นเพียงนามธรรม แต่บริการก็สามารถเกี่ยวโยงกับรูปธรรมอื่นๆ ที่สามารถบริโภคได้ เราจึงพบเห็นคำว่า การบริโภคสินค้าและบริการ อยู่บ่อยๆ

ดูเพิ่ม