ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาววิซิกอท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Visigoth migrations.jpg|right|thumb|300px|เส้นทางการอพยพของชาววิซิกอท]]
[[ไฟล์:Visigoth migrations.jpg|right|thumb|300px|เส้นทางการอพยพของชาววิซิกอท]]
'''วิซิกอท''' ({{lang-en|'''Visigoths'''}}) [</small>[[ภาษาละติน]]: ''Visigothi, Wisigothi, Vesi, Visi, Wesi,'' หรือ ''Wisi'' แปลว่า "กอทตะวันตก"] เป็นหนึ่งในชาติพันธุ์สองสาขาหลักของ[[ชาวกอท]] ซึ่งเป็น[[ชนเผ่าเจอร์มานิคตะวันออก]]กลุ่มหนึ่ง โดยอีกสาขาหนึ่งในกลุ่มนี้คือ[[ชาวออสโตรกอท]]หรือ "กอทตะวันออก" สันนิษฐานกันว่าชาวกอททั้งสองสาขานี้มีต้นกำเนิดอยู่แถบ[[ประเทศยูเครน]]ในปัจจุบัน
'''วิซิกอท''' ({{lang-en|Visigoths}}, {{lang-la|Visigothi, Wisigothi}}, แปลว่า "กอทตะวันตก"] เป็นหนึ่งในชาติพันธุ์สองสาขาหลักของ[[ชาวกอท]] ซึ่งเป็น[[ชนเผ่าเจอร์มานิคตะวันออก]]กลุ่มหนึ่ง โดยอีกสาขาหนึ่งในกลุ่มนี้คือ[[ชาวออสโตรกอท]]หรือ "กอทตะวันออก" สันนิษฐานกันว่าชาวกอททั้งสองสาขานี้มีต้นกำเนิดอยู่แถบ[[ประเทศยูเครน]]ในปัจจุบัน


ชาววิซิกอทเป็นหนึ่งในอนารยชน[[กลุ่มชนเจอร์มานิค]]ต่าง ๆ ที่เข้ามารุกราน[[จักรวรรดิโรมัน]]ตอนปลายใน[[สมัยการอพยพ]] เนื่องจากประชากรที่เพิ่มจำนวนขึ้น ความขาดแคลนอาหาร ประกอบกับการถูกกดดันจากอนารยชน[[ชาวฮั่น (เอเชียกลาง)|ชาวฮั่น]]ที่มาจาก[[เอเชียกลาง]] จนกระทั่งในปี [[ค.ศ. 410]] กองทัพวิซิกอทที่นำโดย[[พระเจ้าอาลาริกที่ 1]] ประสบความสำเร็จในการพิชิต[[กรุงโรม]] และหลังจาก[[การล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตก]]เป็นต้นมา ชาววิซิกอทก็มีบทบาทสำคัญในด้านต่าง ๆ ของภูมิภาค[[ยุโรปตะวันตก]]อยู่เป็นเวลานานถึงสองศตวรรษครึ่ง
ชาววิซิกอทเป็นหนึ่งในอนารยชน[[กลุ่มชนเจอร์มานิค]]ต่าง ๆ ที่เข้ามารุกราน[[จักรวรรดิโรมัน]]ตอนปลายใน[[สมัยการอพยพ]] เนื่องจากประชากรที่เพิ่มจำนวนขึ้น ความขาดแคลนอาหาร ประกอบกับการถูกกดดันจากอนารยชน[[ชาวฮั่น (เอเชียกลาง)|ชาวฮั่น]]ที่มาจาก[[เอเชียกลาง]] จนกระทั่งในปี [[ค.ศ. 410]] กองทัพวิซิกอทที่นำโดย[[พระเจ้าอาลาริกที่ 1]] ประสบความสำเร็จในการพิชิต[[กรุงโรม]] และหลังจาก[[การล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตก]]เป็นต้นมา ชาววิซิกอทก็มีบทบาทสำคัญในด้านต่าง ๆ ของภูมิภาค[[ยุโรปตะวันตก]]อยู่เป็นเวลานานถึงสองศตวรรษครึ่ง
บรรทัด 45: บรรทัด 45:


[[หมวดหมู่:กลุ่มชาติพันธุ์ในยุโรป|วิซิกอท]]
[[หมวดหมู่:กลุ่มชาติพันธุ์ในยุโรป|วิซิกอท]]
[[หมวดหมู่:กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศสเปน|วิซิกอท]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์บัลแกเรีย]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์บัลแกเรีย]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:52, 15 กันยายน 2553

เส้นทางการอพยพของชาววิซิกอท

วิซิกอท (อังกฤษ: Visigoths, ละติน: Visigothi, Wisigothi, แปลว่า "กอทตะวันตก"] เป็นหนึ่งในชาติพันธุ์สองสาขาหลักของชาวกอท ซึ่งเป็นชนเผ่าเจอร์มานิคตะวันออกกลุ่มหนึ่ง โดยอีกสาขาหนึ่งในกลุ่มนี้คือชาวออสโตรกอทหรือ "กอทตะวันออก" สันนิษฐานกันว่าชาวกอททั้งสองสาขานี้มีต้นกำเนิดอยู่แถบประเทศยูเครนในปัจจุบัน

ชาววิซิกอทเป็นหนึ่งในอนารยชนกลุ่มชนเจอร์มานิคต่าง ๆ ที่เข้ามารุกรานจักรวรรดิโรมันตอนปลายในสมัยการอพยพ เนื่องจากประชากรที่เพิ่มจำนวนขึ้น ความขาดแคลนอาหาร ประกอบกับการถูกกดดันจากอนารยชนชาวฮั่นที่มาจากเอเชียกลาง จนกระทั่งในปี ค.ศ. 410 กองทัพวิซิกอทที่นำโดยพระเจ้าอาลาริกที่ 1 ประสบความสำเร็จในการพิชิตกรุงโรม และหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตกเป็นต้นมา ชาววิซิกอทก็มีบทบาทสำคัญในด้านต่าง ๆ ของภูมิภาคยุโรปตะวันตกอยู่เป็นเวลานานถึงสองศตวรรษครึ่ง

อ้างอิง

  • Amory, Patrick. People and Identity in Ostrogothic Italy, 489–554. Cambridge: Cambridge University Press, 2003. ISBN 0 52152 635 3.
  • Bachrach, Bernard S. "A Reassessment of Visigothic Jewish Policy, 589-711." American Historical Review 78, no. 1 (1973): 11-34.
  • Collins, Roger. The Arab Conquest of Spain, 710-797. Oxford: Blackwell Publishers, 1989. Reprinted 1998.
  • Collins, Roger. Law, Culture, and Regionalism in Early Medieval Spain. Great Yarmouth: Variorum, 1992. ISBN 0 86078 308 1.
  • Collins, Roger. Visigothic Spain, 409–711. Oxford: Blackwell Publishing, 2004. ISBN 0 631 18185 7.
  • Constable, Olivia Remie. "A Muslim-Christian Treaty: The Treaty of Tudmir (713)." In Medieval Iberia: Readings from Christian, Muslim, and Jewish Sources, ed. Olivia Remie Constable, 37-38. Philadelphia: University of Pennsylvania Press, 1997.
  • Constable, Olivia Remie, and Jeremy duQ. Adams. "Visigothic Legislation Concerning the Jews." In Medieval Iberia: Readings from Christian, Muslim, and Jewish Sources, ed. Olivia Remie Constable, 21-23. Philadelphia: University of Pennsylvania Press, 1997.
  • Garcia Moreno, Luis A. "Spanish Gothic consciousness among the Mozarabs in al-Andalus (VIII-Xth centuries." In The Visigoths. Studies in Culture and Society, ed. Alberto Ferreiro, 303-323. Leiden-Boston-Köln: Brill, 1999.
  • Glick, Thomas F. Islamic and Christian Spain in the Early Middle Ages: Comparative Perspectives on Social and Cultural Formation. Princeton: Princeton University Press, 1979.
  • Guizot, François. The History of Civilization: From the Fall of the Roman Empire to the French Revolution. trans. William Hazlitt. 1856.
  • Heather, Peter. The Goths. Oxford: Blackwell Publishers, 1996.
  • Helal Ouriachen, El Housin, 2009, La ciudad bética durante la Antigüedad Tardía. Persistencias y mutaciones locales en relación con la realidad urbana del Mediterraneo y del Atlántico, Tesis doctoral, Universidad de Granada, Granada.
  • James, Edward, ed. Visigothic Spain: New Approaches. Oxford: Oxford University Press, 1980. ISBN 0 19 822543 1.
  • Kennedy, Hugh. Muslim Spain and Portugal: A Political History of al-Andalus. Harlow, Essex: Longman, 1996.
  • Lacarra, José María. Estudios de alta edad media española. Valencia: 1975.
  • Mathisen, Ralph W. "Barbarian Bishops and the Churches in Barbaricis Gentibus During Late Antiquity." Speculum, 72, no. 3 (1997): 664-697.
  • Mierow, Charles Christopher (translator). The Gothic History of Jordanes. In English Version with an Introduction and a Commentary. 1915. Reprinted by Evolution Publishing, 2006. ISBN 1 889758 77 9.
  • Nirenberg, David. "The Visigothic Conversion to Catholicism." In Medieval Iberia: Readings from Christian, Muslim, and Jewish Sources, ed. Olivia Remie Constable, 12-20. Philadelphia: University of Pennsylvania Press, 1997.
  • Rosales, Jūratė. Los Godos. Barcelona, Ed. Ariel S.A., 2nd edition, 2004. (edition in Spanish)
  • Sivan, Hagith. "On Foederati, Hospitalitas, and the Settlement of the Goths in A.D. 418." American Journal of Philology 108, no. 4 (1987): 759-772.
  • Stevenson, W. H. "The Beginnings of Wessex." The English Historical Review, 14:53 (January 1899, pp. 32–46).
  • Velázquez, Isabel. "Jural Relations as an Indicator of Syncretism: From the Law of Inheritance to the Dum Inlicita of Chindaswinth." In The Visigoths from the Migration Period to the Seventh Century: An Ethnographic Perspective, ed. Peter Heather, 225-259. Woodbridge, Suffolk: Boydell Press, 1999.
  • Thompson, E. A.. "The Barbarian Kingdoms in Gaul and Spain", Nottingham Mediaeval Studies, 7 (1963:4n11).
  • Thompson, E. A.. The Visigoths in the Time of Ulfila. Oxford: Oxford University Press, 1966.
  • Thompson, E. A.. The Goths in Spain. Oxford: Clarendon Press, 1969.
  • Vékony, Gábor. Dacians-Romans-Romanians. Toronto: Matthias Corvinus Publishing, 2000. ISBN 1 882785 13 4.
  • Wallace-Hadrill, John Michael. The Barbarian West, 400–1000. 3rd ed. London: Hutchison, 1967.
  • Wolf, Kenneth Baxter, ed. and trans. Conquerors and Chroniclers of Early Medieval Spain. Vol. 9, Translated Texts for Historians. Liverpool: Liverpool University Press, 1999.
  • Wolfram, Herwig. History of the Goths. Thomas J. Dunlap, trans. Berkeley: University of California Press, 1988.


ดูเพิ่ม


แม่แบบ:Link FA