ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มภาษาทิเบต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
cleanup
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''ภาษากลุ่มทิเบต''' (Tibetan languages) เป็นกลุ่มย่อยของภาษาที่ไม่สามารถเข้าใจกันได้ ของ[[ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า]] ที่พูดโดย[[ชาวทิเบต]]ที่อยู่ในบริเวณ[[เอเชียกลาง]]ติดต่อกับ[[เอเชียใต้]] ได้แก่ [[ที่ราบสูงทิเบต]] ภาคเหนือของ[[อินเดีย]]ใน[[บัลติสถาน]] [[ลาดัก]] [[เนปาล]] [[สิกขิม]] และ[[ภูฏาน]] ส่วนใหญ่ใช้ในการเขียนงานทางศาสนาโดยเฉพาะ[[ศาสนาพุทธ]]
'''กลุ่มภาษาทิเบต''' (Tibetan languages) เป็นกลุ่มย่อยของภาษาที่ไม่สามารถเข้าใจกันได้ ของ[[ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า]] ที่พูดโดย[[ชาวทิเบต]]ที่อยู่ในบริเวณ[[เอเชียกลาง]]ติดต่อกับ[[เอเชียใต้]] ได้แก่ [[ที่ราบสูงทิเบต]] ภาคเหนือของ[[อินเดีย]]ใน[[บัลติสถาน]] [[ลาดัก]] [[เนปาล]] [[สิกขิม]] และ[[ภูฏาน]] ส่วนใหญ่ใช้ในการเขียนงานทางศาสนาโดยเฉพาะ[[ศาสนาพุทธ]]
ด้วยเหตุผลทางการเมือง สำเนียงของ[[ภาษาทิเบตกลาง]] (รวมทั้งลาซา) คาม และอัมโดในจีน ถือเป็นภาษาทิเบตเพียงภาษาเดียว ในขณะที่[[ภาษาซองคา]] [[ภาษาสิกขิม]] [[ภาษาเศรปา]]และ[[ภาษาลาดัก]] ถือเป็นภาษาเอกเทศต่างหาก แม้ว่าผู้พูดภาษาดังกล่าวจะถือตนว่าเป็นชาวทิเบตด้วย ในทางภาษาศาสตร์ ภาษาซองคาและภาษาเศรปามีความใกล้เคียงกับภาษาทิเบตสำเนียงลาซามากกว่าสำเนียงคามและอัมโด
ด้วยเหตุผลทางการเมือง สำเนียงของ[[ภาษาทิเบตกลาง]] (รวมทั้งลาซา) คาม และอัมโดในจีน ถือเป็นภาษาทิเบตเพียงภาษาเดียว ในขณะที่[[ภาษาซองคา]] [[ภาษาสิกขิม]] [[ภาษาเศรปา]]และ[[ภาษาลาดัก]] ถือเป็นภาษาเอกเทศต่างหาก แม้ว่าผู้พูดภาษาดังกล่าวจะถือตนว่าเป็นชาวทิเบตด้วย ในทางภาษาศาสตร์ ภาษาซองคาและภาษาเศรปามีความใกล้เคียงกับภาษาทิเบตสำเนียงลาซามากกว่าสำเนียงคามและอัมโด


มีผู้พูดภาษากลุ่มทิเบตทั้งหมดราว 6 ล้านคน ภาษาทิเบตสำเนียงลาซามีผู้พูดประมาณ 150,000 คนที่เป็นผู้ลี้ภัยในอินเดียและประเทศอื่นๆ ภาษาทิเบตใช้พูดโดยชนกลุ่มน้อยในทิเบตที่อยู่ใกล้เคียงกับชาวทิเบตมากว่าศตวรรษ แต่ไม่สามารถรักษาภาษาและวัฒนธรรมของตนไว้ได้ [[ชาวเกวียง]]ในคามนั้น รัฐบาลจีจัดให้เป็นชาวทิเบต แต่[[ภาษาเกวียงอิก]]ไม่ใช่ภาษากลุ่มทิเบต แม้จะอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า
มีผู้พูดกลุ่มภาษาทิเบตทั้งหมดราว 6 ล้านคน ภาษาทิเบตสำเนียงลาซามีผู้พูดประมาณ 150,000 คนที่เป็นผู้ลี้ภัยในอินเดียและประเทศอื่นๆ ภาษาทิเบตใช้พูดโดยชนกลุ่มน้อยในทิเบตที่อยู่ใกล้เคียงกับชาวทิเบตมากว่าศตวรรษ แต่ไม่สามารถรักษาภาษาและวัฒนธรรมของตนไว้ได้ [[ชาวเกวียง]]ในคามนั้น รัฐบาลจีจัดให้เป็นชาวทิเบต แต่[[ภาษาเกวียงอิก]]ไม่ใช่กลุ่มภาษาทิเบต แม้จะอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า


[[ภาษาทิเบตคลาสสิก]]ไม่ใช่ภาษาที่มีวรรรยุกต์ แต่บางสำเนียง เช่น ทิเบตกลางและคาม ได้พัฒนาเสียงวรรณยุกต์ขึ้น ส่วนสำเนียงอัมโดและลาดัก และ[[ภาษาบัลติ]]ไม่มีวรรณยุกต์ ลักษณะของภาษาทิเบตในปัจุบันเป็นแบบรูปคำติดต่อแม้ว่าจะไม่พบลักษณะนี้ในภาษาทิเบตคลาสสิก
[[ภาษาทิเบตคลาสสิก]]ไม่ใช่ภาษาที่มีวรรรยุกต์ แต่บางสำเนียง เช่น ทิเบตกลางและคาม ได้พัฒนาเสียงวรรณยุกต์ขึ้น ส่วนสำเนียงอัมโดและลาดัก และ[[ภาษาบัลติ]]ไม่มีวรรณยุกต์ ลักษณะของภาษาทิเบตในปัจุบันเป็นแบบรูปคำติดต่อแม้ว่าจะไม่พบลักษณะนี้ในภาษาทิเบตคลาสสิก
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
การแบ่งตามวิธีของ Bradley ภาษาในกลุ่มนี้ ได้แก่
การแบ่งตามวิธีของ Bradley ภาษาในกลุ่มนี้ ได้แก่
* ภาษาลาดัก หรือภาษาทิเบตตะวันตกโบราณ รวมทั้งภาษาบัลติและ[[ภาษาปูริก]] ไม่มีวรรณยุกต์
* ภาษาลาดัก หรือภาษาทิเบตตะวันตกโบราณ รวมทั้งภาษาบัลติและ[[ภาษาปูริก]] ไม่มีวรรณยุกต์
* ภาษากลุ่มทิเบตกลาง มีวรรณยุกตื
* กลุ่มภาษาทิเบตกลาง มีวรรณยุกตื
* ภาษาทิเบตตะวันตกสมัยใหม่ พบในลาดักและบริเวณใกล้เคียง
* ภาษาทิเบตตะวันตกสมัยใหม่ พบในลาดักและบริเวณใกล้เคียง
* ภาษาดบุส-อู พบใน งารี อู-จั้ง และแนวชายแดนทางด้านเหนือของเนปาล
* ภาษาดบุส-อู พบใน งารี อู-จั้ง และแนวชายแดนทางด้านเหนือของเนปาล
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
== ระบบการเขียน ==
== ระบบการเขียน ==


ภาษากลุ่มทิเบตส่วนใหญ่เขียนด้วย[[อักษรทิเบต]] แต่ชาวลาดักและชาวบัลติบางส่วนเขียนภาษาของตนด้วย[[อักษรอาหรับ]]แบบที่ใช้กับ[[ภาษาอูรดู]] ในบัลติสถาน [[ประเทศปากีสถาน]] ชาวบัลติเลิกใช้อักษรทิเบตมากว่าร้อยปีซึ่งเป็นอิทธิพลจาก[[ศาสนาอิสลาม ]] อย่างไรก็ตาม ชาวบัลติเริ่มตระหนักถึงอิทธิพลจากวัฒนธรรมภายนอกโดยเฉพาะจาก[[ชาวปัญจาบ]] จึงพยายามฟื้นฟูอักษรทิเบตขึ้นมาใช้ควบคู่กับอักษรอาหรับ
กลุ่มภาษาทิเบตส่วนใหญ่เขียนด้วย[[อักษรทิเบต]] แต่ชาวลาดักและชาวบัลติบางส่วนเขียนภาษาของตนด้วย[[อักษรอาหรับ]]แบบที่ใช้กับ[[ภาษาอูรดู]] ในบัลติสถาน [[ประเทศปากีสถาน]] ชาวบัลติเลิกใช้อักษรทิเบตมากว่าร้อยปีซึ่งเป็นอิทธิพลจาก[[ศาสนาอิสลาม ]] อย่างไรก็ตาม ชาวบัลติเริ่มตระหนักถึงอิทธิพลจากวัฒนธรรมภายนอกโดยเฉพาะจาก[[ชาวปัญจาบ]] จึงพยายามฟื้นฟูอักษรทิเบตขึ้นมาใช้ควบคู่กับอักษรอาหรับ
== แหล่งข้อมูลอื่น==
== แหล่งข้อมูลอื่น==
*[http://www.isw2.unibe.ch/tibet/ The Tibetan Dialects Project]
*[http://www.isw2.unibe.ch/tibet/ The Tibetan Dialects Project]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:56, 26 สิงหาคม 2553

กลุ่มภาษาทิเบต (Tibetan languages) เป็นกลุ่มย่อยของภาษาที่ไม่สามารถเข้าใจกันได้ ของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ที่พูดโดยชาวทิเบตที่อยู่ในบริเวณเอเชียกลางติดต่อกับเอเชียใต้ ได้แก่ ที่ราบสูงทิเบต ภาคเหนือของอินเดียในบัลติสถาน ลาดัก เนปาล สิกขิม และภูฏาน ส่วนใหญ่ใช้ในการเขียนงานทางศาสนาโดยเฉพาะศาสนาพุทธ

ด้วยเหตุผลทางการเมือง สำเนียงของภาษาทิเบตกลาง (รวมทั้งลาซา) คาม และอัมโดในจีน ถือเป็นภาษาทิเบตเพียงภาษาเดียว ในขณะที่ภาษาซองคา ภาษาสิกขิม ภาษาเศรปาและภาษาลาดัก ถือเป็นภาษาเอกเทศต่างหาก แม้ว่าผู้พูดภาษาดังกล่าวจะถือตนว่าเป็นชาวทิเบตด้วย ในทางภาษาศาสตร์ ภาษาซองคาและภาษาเศรปามีความใกล้เคียงกับภาษาทิเบตสำเนียงลาซามากกว่าสำเนียงคามและอัมโด

มีผู้พูดกลุ่มภาษาทิเบตทั้งหมดราว 6 ล้านคน ภาษาทิเบตสำเนียงลาซามีผู้พูดประมาณ 150,000 คนที่เป็นผู้ลี้ภัยในอินเดียและประเทศอื่นๆ ภาษาทิเบตใช้พูดโดยชนกลุ่มน้อยในทิเบตที่อยู่ใกล้เคียงกับชาวทิเบตมากว่าศตวรรษ แต่ไม่สามารถรักษาภาษาและวัฒนธรรมของตนไว้ได้ ชาวเกวียงในคามนั้น รัฐบาลจีจัดให้เป็นชาวทิเบต แต่ภาษาเกวียงอิกไม่ใช่กลุ่มภาษาทิเบต แม้จะอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า

ภาษาทิเบตคลาสสิกไม่ใช่ภาษาที่มีวรรรยุกต์ แต่บางสำเนียง เช่น ทิเบตกลางและคาม ได้พัฒนาเสียงวรรณยุกต์ขึ้น ส่วนสำเนียงอัมโดและลาดัก และภาษาบัลติไม่มีวรรณยุกต์ ลักษณะของภาษาทิเบตในปัจุบันเป็นแบบรูปคำติดต่อแม้ว่าจะไม่พบลักษณะนี้ในภาษาทิเบตคลาสสิก

การจัดจำแนก

การแบ่งตามวิธีของ Bradley ภาษาในกลุ่มนี้ ได้แก่

  • ภาษาลาดัก หรือภาษาทิเบตตะวันตกโบราณ รวมทั้งภาษาบัลติและภาษาปูริก ไม่มีวรรณยุกต์
  • กลุ่มภาษาทิเบตกลาง มีวรรณยุกตื
  • ภาษาทิเบตตะวันตกสมัยใหม่ พบในลาดักและบริเวณใกล้เคียง
  • ภาษาดบุส-อู พบใน งารี อู-จั้ง และแนวชายแดนทางด้านเหนือของเนปาล
  • ภาษาทิเบตเหนือ พบทางใต้ของมณฑลชิงไห่
  • ภาษาทิเบตใต้ ได้แก่ภาษาสิกขิม ภาษาซองคา ภาษาเศรปา
  • ภาษาคาม มีวรรณยุกต์ ใช้พูดในมณฑลชิงไห่ คามโด เสฉวนและยูนนาน
  • ภาษาอัมโด ไม่มีวรรณยุกต์ ใช้พูดในชิงไห่ กันซู และเสฉวน

การจัดจำแนกมีความผันแปรมาก บางครั้งรวมสำเนียงคามและอัมโดเข้าด้วยกันเป็นสำเนียงทิเบตตะวันออก (ต่างจากภาษาโบดิชตะวันออก) ภาษาทิเบตที่ใช้ในจีนจัดเป็นภาษาทิเบตมาตรฐาน

ระบบการเขียน

กลุ่มภาษาทิเบตส่วนใหญ่เขียนด้วยอักษรทิเบต แต่ชาวลาดักและชาวบัลติบางส่วนเขียนภาษาของตนด้วยอักษรอาหรับแบบที่ใช้กับภาษาอูรดู ในบัลติสถาน ประเทศปากีสถาน ชาวบัลติเลิกใช้อักษรทิเบตมากว่าร้อยปีซึ่งเป็นอิทธิพลจากศาสนาอิสลาม อย่างไรก็ตาม ชาวบัลติเริ่มตระหนักถึงอิทธิพลจากวัฒนธรรมภายนอกโดยเฉพาะจากชาวปัญจาบ จึงพยายามฟื้นฟูอักษรทิเบตขึ้นมาใช้ควบคู่กับอักษรอาหรับ

แหล่งข้อมูลอื่น