ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าอินจงแห่งโชซ็อน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NewFrontierHistoryThai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
NewFrontierHistoryThai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ชื่ออื่น|||พระเจ้าอินจง}}
{{ชื่ออื่น|||พระเจ้าอินจง}}
'''พระเจ้าอินจง''' {{เกาหลี|인종|ฮันจา=仁宗|MC2000=Injong|MR=Inchong}}([[พ.ศ. 2058]] ถึง [[พ.ศ. 2088]]) ทรงเป็นประมุข[[ราชวงศ์โชซอน]]องค์ที่ 12 ([[พ.ศ. 2087]] ถึง [[พ.ศ. 2088]]) เป็นโอรสของ[[พระเจ้าจุงจง]]กับมเหสีชางฮยอน ทรงได้รับการแต่งตั้งเป็นเซจา (รัชทายาท) ใน[[พ.ศ. 2063]] มีพระมาตุลาคือยุนนิม เป็นหัวหน้าฝ่ายยุนใหญ่ที่สนับสนุนพระเจ้าอินจง เพื่อคานอำนาจกับฝ่ายยุนเล็กอันประกอบด้วย[[พระมเหสีมุนจอง]] [[พระเจ้าเมียงจง|องค์ชายคังวอน]] ยุนวอลโล และ ยุนวอนฮังพระเชษฐาทั้งสองของมเหสีมุนจอง พระเจ้าอินจงขึ้นครองราชย์ใน[[พ.ศ. 2087]] ต่อจากพระบิดาคือพระเจ้าจุงจง
'''พระเจ้าอินจง''' ({{เกาหลี|인종|ฮันจา=仁宗|MC2000=Injong|MR=Inchong}}.ศ. 1515 - .ศ. 1545) เป็นกษัตริย์องค์ที่ 12 แห่ง[[ราชวงศ์โชซอน]] (.ศ. 1544 - .ศ. 1545) ประสูติเมื่อค.ศ. 1515 เป็นพระโอรสของ[[พระเจ้าจุงจง]] (중종, 中宗) และพระมเหสีชังกยอง (장경왕후, 章敬王后) จากตระกูลยุนแห่งพาพยอง (파평윤씨, 坡平尹氏) ซึ่งสิ้นพระชนม์ในระหว่างมีพระประสูติการพระเจ้าอินจง พระเจ้าอินจงทรงได้รับการสถาปนาเป็นองค์ชายรัชทายาทเมื่อค.ศ. 1520 ในค.ศ. 1534 [[พระมเหสีมุนจอง]] พระมเหสีองค์ใหม่จากตระกูลยุนเช่นกัน ได้ประสูติพระอนุชาของพระเจ้าอินจงคือ องค์ชายคยองวอน (경원대군, 慶原大君) ทำให้ตระกูลยุนแตกออกเป็นสองฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายยุนใหญ่ (대윤, 大尹) นำโดยยุนอิม (윤임, 尹任) พระเชษฐาของพระมเหสีชังกยองและพระมาตุลาขององค์ชายรัชทายาท สนับสนุนองค์ชายรัชทายาทให้ได้เป็นกษัตริย์ และฝ่ายยุนเล็ก นำโดยยุนวอนฮยอง (윤원형, 尹元衡) พระอนุชาของพระมเหสีมุนจอง สนับสนุนองค์ชายคยองวอน


พระเจ้าจุงจงสวรรคตในค.ศ. 1544 องค์ชายรัชทายาทจึงได้ขึ้นครองราชสมบัติต่อ ฝ่ายยุนใหญ่จึงก้าวขึ้นมามีอำนาจเหนือฝ่ายยุนเล็ก แต่พระเจ้าอินจงนั้นมีพระพลานามัยไม่ค่อยดีนัก อยู่ในราชสมบัติได้แปดเดือนก็สวรรคตในค.ศ. 1545 องค์ชายคยองวอนพระอนุชาจึงได้ขึ้นครองราชย์ต่อมาเป็น[[พระเจ้ามยองจงแห่งโชซอน|พระเจ้ามยองจง]] (명종, 明宗)
พระเจ้าอินจงทรงเป็นกษัตริย์เกาหลีที่ทะเยอทะยาน ทรงต้องการให้มีการปฏิรูปหลายอย่าง ซึ่งล้วนเป็นที่ต่อต้านของฝ่ายยุนเล็ก ขณะที่ฝ่ายยุนใหญ่แผ่ขยายอำนาจอย่างมากในรัชสมัยของพระเจ้าอินจง โดยเฉพาะยุนนิม แต่ด้วยพระสุขภาพที่ไม่ค่อยจะสู้ดี ทำให้พระองค์สิ้นพระชนม์ในปีต่อมา[[พ.ศ. 2088]] โดยถูกวางยาพิษโดย [[ชองนานจอง]] ภรรยาน้อยของพระเชษฐายุนวอนฮัง ทำให้ฝ่ายยุนใหญ่ล่มสลายและถูกกวาดล้าง ยุนนิมถูกประหารชีวิต และฝ่ายยุนเล็กก็ขึ้นมามีอำนาจแทนตามการขึ้นครองราชย์ของพระเจ้าเมียงจง


== พระนามเต็ม ==
== พระนามเต็ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:13, 17 สิงหาคม 2553

พระเจ้าอินจง (เกาหลี인종; ฮันจา仁宗; อาร์อาร์Injong; เอ็มอาร์Inchong ค.ศ. 1515 - ค.ศ. 1545) เป็นกษัตริย์องค์ที่ 12 แห่งราชวงศ์โชซอน (ค.ศ. 1544 - ค.ศ. 1545) ประสูติเมื่อค.ศ. 1515 เป็นพระโอรสของพระเจ้าจุงจง (중종, 中宗) และพระมเหสีชังกยอง (장경왕후, 章敬王后) จากตระกูลยุนแห่งพาพยอง (파평윤씨, 坡平尹氏) ซึ่งสิ้นพระชนม์ในระหว่างมีพระประสูติการพระเจ้าอินจง พระเจ้าอินจงทรงได้รับการสถาปนาเป็นองค์ชายรัชทายาทเมื่อค.ศ. 1520 ในค.ศ. 1534 พระมเหสีมุนจอง พระมเหสีองค์ใหม่จากตระกูลยุนเช่นกัน ได้ประสูติพระอนุชาของพระเจ้าอินจงคือ องค์ชายคยองวอน (경원대군, 慶原大君) ทำให้ตระกูลยุนแตกออกเป็นสองฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายยุนใหญ่ (대윤, 大尹) นำโดยยุนอิม (윤임, 尹任) พระเชษฐาของพระมเหสีชังกยองและพระมาตุลาขององค์ชายรัชทายาท สนับสนุนองค์ชายรัชทายาทให้ได้เป็นกษัตริย์ และฝ่ายยุนเล็ก นำโดยยุนวอนฮยอง (윤원형, 尹元衡) พระอนุชาของพระมเหสีมุนจอง สนับสนุนองค์ชายคยองวอน

พระเจ้าจุงจงสวรรคตในค.ศ. 1544 องค์ชายรัชทายาทจึงได้ขึ้นครองราชสมบัติต่อ ฝ่ายยุนใหญ่จึงก้าวขึ้นมามีอำนาจเหนือฝ่ายยุนเล็ก แต่พระเจ้าอินจงนั้นมีพระพลานามัยไม่ค่อยดีนัก อยู่ในราชสมบัติได้แปดเดือนก็สวรรคตในค.ศ. 1545 องค์ชายคยองวอนพระอนุชาจึงได้ขึ้นครองราชย์ต่อมาเป็นพระเจ้ามยองจง (명종, 明宗)

พระนามเต็ม

สมเด็จพระราชา อินจง ยองจอง ฮอนมุน อึยมู จางซุก ฮุมฮโย แห่งเกาหลี

พระบรมวงศานุวงศ์

  • พระราชบิดา: พระเจ้าจุงจง (중종)
  • พระราชมารดา: พระมเหสีชังกยอง ตระกูลยุน (장경왕후 윤씨)
  • พระมเหสี และ พระสนม
    • พระมเหสีอินซอง ตระกูลปาร์ค (인성왕후 박씨)
    • พระสนมซุกบิน ตระกูลยุน
    • พระสนมฮเยบิน ตระกูลจอง
  • พระโอรส และ พระธิดา
    • ไม่มี
ก่อนหน้า พระเจ้าอินจงแห่งโชซ็อน ถัดไป
พระเจ้าจุงจง ประมุขแห่งเกาหลี
(พ.ศ. 2087 - พ.ศ. 2088)
พระเจ้าเมียงจง|}