ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
substituteTemplate
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
cleanupSubstBug
บรรทัด 47: บรรทัด 47:
|จำนวนหน้า=360
|จำนวนหน้า=360
}}
}}
</ref> - [[26 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2519]]) <ref name="เสือแท้">{{subst:ผู้ใช้:2T/ref/เสือแท้}}</ref> ช่างภาพ ผู้กำกับ และผู้อำนวยการสร้าง[[ภาพยนตร์ไทย]]
</ref> - [[26 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2519]]) <ref name="เสือแท้">{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=[[แท้ ประกาศวุฒิสาร]]
|ชื่อหนังสือ=สุภาพบุรุษเสือแท้
|URL=
|จังหวัด=กรุงเทพ
|พิมพ์ที่=มูลนิธิหนังไทย
|ปี= พ.ศ. 2544
|ISBN=974-88613-8-4
|หน้า=หน้าที่
|จำนวนหน้า=368
}}</ref> ช่างภาพ ผู้กำกับ และผู้อำนวยการสร้าง[[ภาพยนตร์ไทย]]


หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุล เป็นพระโอรสใน[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] ประสูติแต่หม่อมแสง <ref>{{อ้างหนังสือ
หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุล เป็นพระโอรสใน[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] ประสูติแต่หม่อมแสง <ref>{{อ้างหนังสือ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:38, 16 สิงหาคม 2553

หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุล
หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ เมื่อ พ.ศ. 2492
หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ เมื่อ พ.ศ. 2492
สารนิเทศภูมิหลัง
เกิด14 มกราคม พ.ศ. 2452
หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุล
เสียชีวิต26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519 (67 ปี)
อาชีพผู้กำกับภาพ ผู้กำกับภาพยนตร์
ผลงานเด่นผู้กำกับ สุภาพบุรุษเสือไทย (2492)
พระสุรัสวดีพ.ศ. 2500 - รางวัลพิเศษ ผู้นำการสร้างภาพยนตร์ (16 ม.ม.)

หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุล (14 มกราคม พ.ศ. 2452 [1] - 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519) [2] ช่างภาพ ผู้กำกับ และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ไทย

หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุล เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประสูติแต่หม่อมแสง [3] เษกสมรสกับ หม่อมลดา ดิศกุล (อินทรกำแหง ณ ราชสีมา)

หม่อมเจ้าศุกรวรรณดิศ ดิศกุลอยู่ในวงการภาพยนตร์ไทยตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นผู้กำกับภาพ ภาพยนตร์ รวมไทย ภาพยนตร์ปลุกระดมการเรียกร้องดินแดนคืนจากฝรั่งเศส ของกรมสาธารณสุขและกรมรถไฟ [4] กำกับภาพ ภาพยนตร์ กะเหรี่ยงไทรโยค (2478) ของขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต [2]

ท่านเป็นผู้ก่อตั้งบริษัท ปรเมรุภาพยนตร์ [5] เพื่อสร้างภาพยนตร์ สุภาพบุรุษเสือไทย ซึ่งอำนวยการสร้างโดยแท้ ประกาศวุฒิสาร โดยท่านเป็นผู้กำกับ และประสบความสำเร็จสูงสุดในปี พ.ศ. 2492 ต่อมาบริษัทปรเมรุภาพยนตร์ ได้สร้างภาพยนตร์ มรดกพระจอมเกล้า โดยการสนับสนุนจากสำนักข่าวสารอเมริกัน เพื่อเทอดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว [6]

ท่านได้รับการเชิดชูเกียรติในฐานะเป็นผู้นำการสร้างภาพยนตร์ 16 ม.ม.ในพิธีประกาศผลรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2500 [4]

อ้างอิง

  1. ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร. พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549. 360 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-221-818-8
  2. 2.0 2.1 แท้ ประกาศวุฒิสารสุภาพบุรุษเสือแท้. กรุงเทพ : มูลนิธิหนังไทย, พ.ศ. 2544. 368 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-88613-8-4
  3. ธำรงศักดิ์ อายุวัฒนะ. ราชสกุลจักรีวงศ์ และราชสกุลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2544. 490 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-222-648-2
  4. 4.0 4.1 หนึ่งเดียว. พิพิธภัณฑ์หนังไทย ฉบับ "ประวัติการณ์ที่สุดหนังไทย". กรุงเทพ : สำนักพิมพ์ป็อปคอร์น, พ.ศ. 2549. หน้า 328. ISBN 974-94228-8-0
  5. รายการร้อยหนังไทยที่คนไทยควรดู โดย มูลนิธิหนังไทย
  6. จากแอนนากับพระเจ้ากรุงสยาม ถึง The King and I ภาพสะท้อนแนวคิดเสรีนิยม และชาตินิยมแบบไทยๆ