ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิลเลียม ชอกลีย์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: io:William Bradford Shockley
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{โครง}


[[ไฟล์:William Shockley, Stanford University.jpg|thumb]]
[[ไฟล์:William Shockley, Stanford University.jpg|thumb]]


'''วิลเลียม ชอกลีย์''' (William Bradford Shockley)[http://en.wikipedia.org/wiki/William_Shockley] ([[13 กุมภาพันธ์]], [[พ.ศ. 2453 ]] - [[12 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2532]]) [[นักฟิสิกส์]]และนักประดิษฐ์ชาว[[อังกฤษ]]สัญชาติ[[อเมริกัน]]ผู้ร่วมค้นคิดและประดิษฐ์[[ทรานซิสเตอร์]]
'''วิลเลียม ชอกลีย์''' (William Bradford Shockley) ([[13 กุมภาพันธ์]], [[พ.ศ. 2453 ]] - [[12 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2532]]) [[นักฟิสิกส์]]และนักประดิษฐ์ชาว[[อังกฤษ]]สัญชาติ[[อเมริกัน]]ผู้ร่วมค้นคิดและประดิษฐ์[[ทรานซิสเตอร์]]


'''ชอกลีย์''' ร่วมกับ ''จอห์น บาร์ดีน''[http://en.wikipedia.org/wiki/John_Bardeen] และ ''วอลเตอร์ เฮาเซอร์ แบรตเตน''[http://en.wikipedia.org/wiki/Walter_Brattain] ได้ประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ได้เป็นผลสำเร็จ ทำให้นักประดิษฐ์ทั้งสามคนได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์]]ประจำปี [[พ.ศ. 2499]] ความพยายามของชอกลีย์ในการผลิตทรานซิสเตอร์ทางการค้าระหว่างช่วง [[พ.ศ. 2493]] - [[พ.ศ. 2512]] ทำให้เกิด “[[ซิลิคอนแวลเลย์]]”[http://en.wikipedia.org/wiki/Silicon_Valley] ขึ้นที่[[รัฐแคลิฟอร์เนีย]]ซึ่งกลายเป็น “ดง” แห่ง[[นวัตกรรม]]ทาง[[อีเลกทรอนิกส์]]ดังที่เห็นในปัจจุบัน ในช่วงชีวิตหลังๆ ชอกลีย์หันกลับมาทางด้านการศึกษาและวิจัยโดยเข้าเป็น[[ศาสตราจารย์]]ที่[[มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด]]และต่อมากลายเป็นผู้สนับสนุนด้าน[[สุพันธุศาสตร์]] (eugenics)[http://en.wikipedia.org/wiki/Eugenics] <ref name=obit/>หรือวิชาว่าด้วยการบำรุงพันธุ์มนุษย์อย่างแข็งขัน
'''ชอกลีย์''' ร่วมกับ ''จอห์น บาร์ดีน''[http://en.wikipedia.org/wiki/John_Bardeen] และ ''วอลเตอร์ เฮาเซอร์ แบรตเตน''[http://en.wikipedia.org/wiki/Walter_Brattain] ได้ประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ได้เป็นผลสำเร็จ ทำให้นักประดิษฐ์ทั้งสามคนได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์]]ประจำปี [[พ.ศ. 2499]] ความพยายามของชอกลีย์ในการผลิตทรานซิสเตอร์ทางการค้าระหว่างช่วง [[พ.ศ. 2493]] - [[พ.ศ. 2512]] ทำให้เกิด “[[ซิลิคอนแวลเลย์]]”[http://en.wikipedia.org/wiki/Silicon_Valley] ขึ้นที่[[รัฐแคลิฟอร์เนีย]]ซึ่งกลายเป็น “ดง” แห่ง[[นวัตกรรม]]ทาง[[อีเลกทรอนิกส์]]ดังที่เห็นในปัจจุบัน ในช่วงชีวิตหลังๆ ชอกลีย์หันกลับมาทางด้านการศึกษาและวิจัยโดยเข้าเป็น[[ศาสตราจารย์]]ที่[[มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด]]และต่อมากลายเป็นผู้สนับสนุนด้าน[[สุพันธุศาสตร์]] (eugenics)[http://en.wikipedia.org/wiki/Eugenics] <ref name=obit/>หรือวิชาว่าด้วยการบำรุงพันธุ์มนุษย์อย่างแข็งขัน



== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
บรรทัด 13: บรรทัด 11:
===ช่วงแรกของชีวิต===
===ช่วงแรกของชีวิต===
'''วิลเลียม ชอกลีย์'''เกิดใน[[ลอนดอน]]มีบิดามารดาเป็นชาว[[อเมริกัน]]และเติบโตใน[[แคลิฟอร์เนีย]] ได้ปริญญาตรีวิทยาศาสตร์บัณฑิตจาก[[สถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย]]เมื่อ [[พ.ศ. 2475]] ขณะเป็นนักศึกษาชอกลีย์แต่งานกับ ''ยีน เบลีย์'' ชาว[[ไอโอวา]]เมื่อเดือนสิงหาคม [[พ.ศ. 2476]] และมีบุตรสาว 1 คนในปีต่อมา ชอกลีย์ได้[[ปริญญาเอก]][http://en.wikipedia.org/wiki/Doctor_of_Philosophy]จาก[[สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเสตส์]]เมื่อ [[พ.ศ. 2479]] โดยทำ[[วิทยานิพนธ์]]ชื่อ “แถบ[[อิเลกทรอนิกส์]]ใน[[เกลือแกง]]” (Electronic Bands in Sodium Chloride) ซึ่งได้รับคำแนะนำจากอาจารย์ที่ปรึกษาชื่อ [[จอห์น สเลเตอร์]][http://en.wikipedia.org/wiki/John_C._Slater] หลังได้ปริญญาเอก ชอกลีย์ได้เข้าทำงานร่วมกับ ''คลินตัน เดวิสสัน'' หัวหน้าทีมที่[[หอทดลลองเบลล์]][http://en.wikipedia.org/wiki/Bell_Labs]ใน[[นิวเจอร์ซี]] ในปี [[พ.ศ. 2481]] ก็ได้รับสิทธิบัตรฉบับแรกจากการจดลิขสิทธิ์เรื่อง “อุปกรณ์ปล่อยประจุอิเล็กตรอน” ในเครื่องเพิ่มอิเล็กตรอน[http://en.wikipedia.org/wiki/Electron_multiplier]
'''วิลเลียม ชอกลีย์'''เกิดใน[[ลอนดอน]]มีบิดามารดาเป็นชาว[[อเมริกัน]]และเติบโตใน[[แคลิฟอร์เนีย]] ได้ปริญญาตรีวิทยาศาสตร์บัณฑิตจาก[[สถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย]]เมื่อ [[พ.ศ. 2475]] ขณะเป็นนักศึกษาชอกลีย์แต่งานกับ ''ยีน เบลีย์'' ชาว[[ไอโอวา]]เมื่อเดือนสิงหาคม [[พ.ศ. 2476]] และมีบุตรสาว 1 คนในปีต่อมา ชอกลีย์ได้[[ปริญญาเอก]][http://en.wikipedia.org/wiki/Doctor_of_Philosophy]จาก[[สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเสตส์]]เมื่อ [[พ.ศ. 2479]] โดยทำ[[วิทยานิพนธ์]]ชื่อ “แถบ[[อิเลกทรอนิกส์]]ใน[[เกลือแกง]]” (Electronic Bands in Sodium Chloride) ซึ่งได้รับคำแนะนำจากอาจารย์ที่ปรึกษาชื่อ [[จอห์น สเลเตอร์]][http://en.wikipedia.org/wiki/John_C._Slater] หลังได้ปริญญาเอก ชอกลีย์ได้เข้าทำงานร่วมกับ ''คลินตัน เดวิสสัน'' หัวหน้าทีมที่[[หอทดลลองเบลล์]][http://en.wikipedia.org/wiki/Bell_Labs]ใน[[นิวเจอร์ซี]] ในปี [[พ.ศ. 2481]] ก็ได้รับสิทธิบัตรฉบับแรกจากการจดลิขสิทธิ์เรื่อง “อุปกรณ์ปล่อยประจุอิเล็กตรอน” ในเครื่องเพิ่มอิเล็กตรอน[http://en.wikipedia.org/wiki/Electron_multiplier]

===สารกึ่งตัวนำชอกลีย์ (Shockley Semiconductor)===

===ช่วงปลายแห่งชีวิต===

===ความเชื่อในเรื่องประชากรและพันธุกรรม ===
<!--The book ''Schockley on Eugenics and Race'' will be useful in editing this section.-->

===การถึงแก่กรรม===


==เกียรติคุณ==


==สิทธิบัตร==


==บรรณานุกรม==


===หนังสือแต่งโดยลอกลีย์===
===หนังสือแต่งโดยลอกลีย์===
บรรทัด 44: บรรทัด 24:
* จูเลียต เอ็ดการ์ ลิเลียนเฟลด์ ([[:en:Julius Edgar Lilienfeld|Julius Edgar Lilienfeld]])
* จูเลียต เอ็ดการ์ ลิเลียนเฟลด์ ([[:en:Julius Edgar Lilienfeld|Julius Edgar Lilienfeld]])


==อ้างอิง==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}



== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
บรรทัด 62: บรรทัด 42:
* [http://www.shockleytransistor.com A Shockley website (shockleytransistor.com)] สร้างขึ้นโดยใช้ชื่อบริษัทเพื่อเป็นเกียรติแก่ชอกลีย์และผู้บุกเบิกซิลิคอนแวลเลย์
* [http://www.shockleytransistor.com A Shockley website (shockleytransistor.com)] สร้างขึ้นโดยใช้ชื่อบริษัทเพื่อเป็นเกียรติแก่ชอกลีย์และผู้บุกเบิกซิลิคอนแวลเลย์



{{DEFAULTSORT:Shockley, William}}
{{birth|1910}}{{death|1989}}
[[หมวดหมู่:นักประดิษฐ์ชาวอเมริกัน]]
[[หมวดหมู่:นักประดิษฐ์ชาวอเมริกัน]]
[[หมวดหมู่:นักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน]]
[[หมวดหมู่:นักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน]]
บรรทัด 77: บรรทัด 54:
[[หมวดหมู่:บุคคลแห่งปีของวารสารไทม์]]
[[หมวดหมู่:บุคคลแห่งปีของวารสารไทม์]]
[[หมวดหมู่:ผู้บริจาคอสุจิ]]
[[หมวดหมู่:ผู้บริจาคอสุจิ]]
{{birth|1910}}{{death|1989}}


[[ar:ويليام شوكلي]]
[[ar:ويليام شوكلي]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:50, 4 สิงหาคม 2553

วิลเลียม ชอกลีย์ (William Bradford Shockley) (13 กุมภาพันธ์, พ.ศ. 2453 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2532) นักฟิสิกส์และนักประดิษฐ์ชาวอังกฤษสัญชาติอเมริกันผู้ร่วมค้นคิดและประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์

ชอกลีย์ ร่วมกับ จอห์น บาร์ดีน[1] และ วอลเตอร์ เฮาเซอร์ แบรตเตน[2] ได้ประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ได้เป็นผลสำเร็จ ทำให้นักประดิษฐ์ทั้งสามคนได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ประจำปี พ.ศ. 2499 ความพยายามของชอกลีย์ในการผลิตทรานซิสเตอร์ทางการค้าระหว่างช่วง พ.ศ. 2493 - พ.ศ. 2512 ทำให้เกิด “ซิลิคอนแวลเลย์[3] ขึ้นที่รัฐแคลิฟอร์เนียซึ่งกลายเป็น “ดง” แห่งนวัตกรรมทางอีเลกทรอนิกส์ดังที่เห็นในปัจจุบัน ในช่วงชีวิตหลังๆ ชอกลีย์หันกลับมาทางด้านการศึกษาและวิจัยโดยเข้าเป็นศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดและต่อมากลายเป็นผู้สนับสนุนด้านสุพันธุศาสตร์ (eugenics)[4] [1]หรือวิชาว่าด้วยการบำรุงพันธุ์มนุษย์อย่างแข็งขัน

ประวัติ

ช่วงแรกของชีวิต

วิลเลียม ชอกลีย์เกิดในลอนดอนมีบิดามารดาเป็นชาวอเมริกันและเติบโตในแคลิฟอร์เนีย ได้ปริญญาตรีวิทยาศาสตร์บัณฑิตจากสถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนียเมื่อ พ.ศ. 2475 ขณะเป็นนักศึกษาชอกลีย์แต่งานกับ ยีน เบลีย์ ชาวไอโอวาเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2476 และมีบุตรสาว 1 คนในปีต่อมา ชอกลีย์ได้ปริญญาเอก[5]จากสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเสตส์เมื่อ พ.ศ. 2479 โดยทำวิทยานิพนธ์ชื่อ “แถบอิเลกทรอนิกส์ในเกลือแกง” (Electronic Bands in Sodium Chloride) ซึ่งได้รับคำแนะนำจากอาจารย์ที่ปรึกษาชื่อ จอห์น สเลเตอร์[6] หลังได้ปริญญาเอก ชอกลีย์ได้เข้าทำงานร่วมกับ คลินตัน เดวิสสัน หัวหน้าทีมที่หอทดลลองเบลล์[7]ในนิวเจอร์ซี ในปี พ.ศ. 2481 ก็ได้รับสิทธิบัตรฉบับแรกจากการจดลิขสิทธิ์เรื่อง “อุปกรณ์ปล่อยประจุอิเล็กตรอน” ในเครื่องเพิ่มอิเล็กตรอน[8]

หนังสือแต่งโดยลอกลีย์

  • Shockley, William - Electrons and holes in semiconductors, with applications to transistor electronics, Krieger (1956) ISBN 0-88275-382-7.
  • Shockley, William - Mechanics Merrill (1966).
  • Shockley, William and Pearson, Roger - Shockley on Eugenics and Race: The Application of Science to the Solution of Human Problems Scott-Townsend (1992) ISBN 1-878465-03-1.

หนังสือเกี่ยวกับตัวชอกลีย์

  • Joel N. Shurkin; Broken Genius: The Rise and Fall of William Shockley, Creator of the Electronic Age. New York: Palgrave Macmillan. 2006. ISBN 1-4039-8815-3
  • Michael Riordan and Lillian Hoddeson; Crystal Fire: The Invention of the Transistor and the Birth of the Information Age. New York: Norton. 1997. ISBN 0-393-31851-6 pbk.

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ obit

แหล่งข้อมูลอื่น