ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิศวกรรมโครงสร้าง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: ar:هندسة الإنشاءات
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: si:ව්‍යුහාත්මක ඉංජිනේරු විද්‍යාව; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
'''วิศวกรรมโครงสร้าง''' (Structural engineering) เป็นสาขาหนึ่งของ[[วิศวกรรม]] ซึ่งเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์หน่วยแรงที่เกิดขึ้นในวัสดุ อาคาร เครื่องจักรกล ยานพาหนะ อากาศยาน หรือแม้แต่ยานอวกาศ
'''วิศวกรรมโครงสร้าง''' (Structural engineering) เป็นสาขาหนึ่งของ[[วิศวกรรม]] ซึ่งเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์หน่วยแรงที่เกิดขึ้นในวัสดุ อาคาร เครื่องจักรกล ยานพาหนะ อากาศยาน หรือแม้แต่ยานอวกาศ


แต่ในประเทศไทย เมื่อกล่าวถึงวิศวกรรมโครงสร้าง มักจะเข้าใจว่าเป็นวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ คำนวณ ออกแบบอาคารและสิ่งก่อสร้าง เท่านั้น โดยวิศวกรรมโครงสร้างที่วิเคราะห์ ออกแบบในด้านเครื่องกล หรือสิ่งอื่น ๆ มักจะเรียกแยกไปตามวิศวกรรมสาขานั้น ๆ เช่น วิศวกรรมยานยนต์ วิศวกรรมอากาศยาน เป็นต้น
แต่ในประเทศไทย เมื่อกล่าวถึงวิศวกรรมโครงสร้าง มักจะเข้าใจว่าเป็นวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ คำนวณ ออกแบบอาคารและสิ่งก่อสร้าง เท่านั้น โดยวิศวกรรมโครงสร้างที่วิเคราะห์ ออกแบบในด้านเครื่องกล หรือสิ่งอื่น ๆ มักจะเรียกแยกไปตามวิศวกรรมสาขานั้น ๆ เช่น วิศวกรรมยานยนต์ วิศวกรรมอากาศยาน เป็นต้น


==การวิเคราะห์โครงสร้าง ==
== การวิเคราะห์โครงสร้าง ==
การวิเคราะห์ใด ๆ ในงานวิศวกรรมโครงสร้าง จะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
การวิเคราะห์ใด ๆ ในงานวิศวกรรมโครงสร้าง จะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
* การวิเคราะห์แรงภายนอกที่กระทำกับ ชิ้นส่วน อาคารนั้น ๆ ที่ทำให้เกิด แรงดึง แรงอัด แรงเฉือน แรงบิด และโมเมนต์ดัด
* การวิเคราะห์แรงภายนอกที่กระทำกับ ชิ้นส่วน อาคารนั้น ๆ ที่ทำให้เกิด แรงดึง แรงอัด แรงเฉือน แรงบิด และโมเมนต์ดัด
บรรทัด 11: บรรทัด 11:




==ขั้นตอนในการวิเคราะห์โครงสร้าง ==
== ขั้นตอนในการวิเคราะห์โครงสร้าง ==
# สร้างแบบจำลอง
# สร้างแบบจำลอง
# คำนวณแรงที่กระทำภายนอก
# คำนวณแรงที่กระทำภายนอก
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
# ตรวจสอบผลลัพธ์ที่ได้ พร้อมกับค่าหน่วยแรงที่ยอมรับได้ และค่าการเสียรูปหรือการเคลื่อนตัว
# ตรวจสอบผลลัพธ์ที่ได้ พร้อมกับค่าหน่วยแรงที่ยอมรับได้ และค่าการเสียรูปหรือการเคลื่อนตัว


==หลักพื้นฐานในการวิเคราะห์โครงสร้าง ==
== หลักพื้นฐานในการวิเคราะห์โครงสร้าง ==
* สมการหลักในการวิเคราะห์โครงสร้าง คือ สมการความสมดุล (Statically Equilibrium)
* สมการหลักในการวิเคราะห์โครงสร้าง คือ สมการความสมดุล (Statically Equilibrium)
** ผลรวมแรงในแนวราบ = 0
** ผลรวมแรงในแนวราบ = 0
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
** ผลรวมโมเมนต์ดัด = 0
** ผลรวมโมเมนต์ดัด = 0


* เสถียรภาพของโครงสร้าง (Structural Stability)
* เสถียรภาพของโครงสร้าง (Structural Stability)


* ดีเทอร์มิเนซี่สถิตของโครงสร้าง (Statically Determinacy)
* ดีเทอร์มิเนซี่สถิตของโครงสร้าง (Statically Determinacy)
บรรทัด 32: บรรทัด 32:
** โครงสร้างอินดีเทอร์มิเนท (Indeterminate) คือโครงสร้างที่ไม่สามารถวิเคราะห์ได้ด้วยสมการสมดุลตามลำพัง
** โครงสร้างอินดีเทอร์มิเนท (Indeterminate) คือโครงสร้างที่ไม่สามารถวิเคราะห์ได้ด้วยสมการสมดุลตามลำพัง


==ทฤษฎีในการวิเคราะห์กำลังของวัสดุ ==
== ทฤษฎีในการวิเคราะห์กำลังของวัสดุ ==
* ทฤษฎีหน่วยแรงใช้งาน (Working Stress) จะพิจารณาจากความเค้นคราก (Yield Stress) คือขีดกำหนดสูงสุดของความยืดหยุ่นของวัสดุ
* ทฤษฎีหน่วยแรงใช้งาน (Working Stress) จะพิจารณาจากความเค้นคราก (Yield Stress) คือขีดกำหนดสูงสุดของความยืดหยุ่นของวัสดุ
* ทฤษฎีกำลังประลัย (Ultimate Strength) จะพิจารณาจากกำลังประลัย (Ultimate Strength) คือขีดความสามารถสูงสุดของวัสดุ
* ทฤษฎีกำลังประลัย (Ultimate Strength) จะพิจารณาจากกำลังประลัย (Ultimate Strength) คือขีดความสามารถสูงสุดของวัสดุ


==ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [http://www.thaiengineering.com/article/civil/structure/structure-engineering.asp วิวัฒนาการ วิศวกรรมโครงสร้างไทย]
* [http://www.thaiengineering.com/article/civil/structure/structure-engineering.asp วิวัฒนาการ วิศวกรรมโครงสร้างไทย]


*[http://www.thaiengineering.com/article/civil/structure/baiyok.asp การออกแบบโครงสร้างอาคารใบหยก 2 เพื่อรับแรงด้านข้าง]
* [http://www.thaiengineering.com/article/civil/structure/baiyok.asp การออกแบบโครงสร้างอาคารใบหยก 2 เพื่อรับแรงด้านข้าง]


*[http://www.civilclub.net/ The Community for Civil Engineer.]
* [http://www.civilclub.net/ The Community for Civil Engineer.]


[[หมวดหมู่:สาขาทางวิศวกรรมศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:สาขาทางวิศวกรรมศาสตร์]]
บรรทัด 59: บรรทัด 59:
[[pl:Mechanika konstrukcji]]
[[pl:Mechanika konstrukcji]]
[[pt:Engenharia estrutural]]
[[pt:Engenharia estrutural]]
[[si:ව්‍යුහාත්මක ඉංජිනේරු විද්‍යාව]]
[[simple:Structural Engineering]]
[[simple:Structural Engineering]]
[[ta:கட்டமைப்புப் பொறியியல்]]
[[ta:கட்டமைப்புப் பொறியியல்]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:45, 19 กรกฎาคม 2553

วิศวกรรมโครงสร้าง (Structural engineering) เป็นสาขาหนึ่งของวิศวกรรม ซึ่งเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์หน่วยแรงที่เกิดขึ้นในวัสดุ อาคาร เครื่องจักรกล ยานพาหนะ อากาศยาน หรือแม้แต่ยานอวกาศ

แต่ในประเทศไทย เมื่อกล่าวถึงวิศวกรรมโครงสร้าง มักจะเข้าใจว่าเป็นวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ คำนวณ ออกแบบอาคารและสิ่งก่อสร้าง เท่านั้น โดยวิศวกรรมโครงสร้างที่วิเคราะห์ ออกแบบในด้านเครื่องกล หรือสิ่งอื่น ๆ มักจะเรียกแยกไปตามวิศวกรรมสาขานั้น ๆ เช่น วิศวกรรมยานยนต์ วิศวกรรมอากาศยาน เป็นต้น

การวิเคราะห์โครงสร้าง

การวิเคราะห์ใด ๆ ในงานวิศวกรรมโครงสร้าง จะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ

  • การวิเคราะห์แรงภายนอกที่กระทำกับ ชิ้นส่วน อาคารนั้น ๆ ที่ทำให้เกิด แรงดึง แรงอัด แรงเฉือน แรงบิด และโมเมนต์ดัด
  • การวิเคราะห์แรงภายในที่เกิดขึ้นภายในวัสดุ ที่ถูกกระทำจากแรงภายนอก ที่ทำให้เกิดความเค้น (Stress) และความเครียด (Strain) รวมไปถึงการเสียรูป และการแอ่นตัว(Deflection) ของชิ้นส่วน
  • การวิเคราะห์การเคลื่อนตัวของชิ้นส่วน เช่นการเสียรูป และการแอ่นตัว(Deflection) ของชิ้นส่วน


ขั้นตอนในการวิเคราะห์โครงสร้าง

  1. สร้างแบบจำลอง
  2. คำนวณแรงที่กระทำภายนอก
  3. เลือกวัสดุและหน้าตัดโดยประมาณ
  4. วิเคราะห์แรงที่เกิดขึ้น
  5. เลือกวัสดุและขนาดให้สามารถรับแรงที่เกิดขึ้น
  6. วิเคราะห์ซ้ำอีกครั้ง
  7. ตรวจสอบผลลัพธ์ที่ได้ พร้อมกับค่าหน่วยแรงที่ยอมรับได้ และค่าการเสียรูปหรือการเคลื่อนตัว

หลักพื้นฐานในการวิเคราะห์โครงสร้าง

  • สมการหลักในการวิเคราะห์โครงสร้าง คือ สมการความสมดุล (Statically Equilibrium)
    • ผลรวมแรงในแนวราบ = 0
    • ผลรวมแรงในแนวดิ่ง = 0
    • ผลรวมโมเมนต์ดัด = 0
  • เสถียรภาพของโครงสร้าง (Structural Stability)
  • ดีเทอร์มิเนซี่สถิตของโครงสร้าง (Statically Determinacy)
    • โครงสร้างประเภทดีเทอร์มิเนททางสถิต (Determinate) หมายถึงโครงสร้างที่สามารถวิเคราะห์ได้ด้วยสมการสมดุลสถิตของโครงสร้าง
    • โครงสร้างอินดีเทอร์มิเนท (Indeterminate) คือโครงสร้างที่ไม่สามารถวิเคราะห์ได้ด้วยสมการสมดุลตามลำพัง

ทฤษฎีในการวิเคราะห์กำลังของวัสดุ

  • ทฤษฎีหน่วยแรงใช้งาน (Working Stress) จะพิจารณาจากความเค้นคราก (Yield Stress) คือขีดกำหนดสูงสุดของความยืดหยุ่นของวัสดุ
  • ทฤษฎีกำลังประลัย (Ultimate Strength) จะพิจารณาจากกำลังประลัย (Ultimate Strength) คือขีดความสามารถสูงสุดของวัสดุ

ดูเพิ่ม