ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สภานักเรียน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
== บุคลากรสภานักเรียน ==
== บุคลากรสภานักเรียน ==
โดยส่วนใหญ่ บุคลากรสภานักเรียนในแต่ละโรงเรียนจะไม่เหมือนกัน ซึ่งแล้วแต่โรงเรียนว่าจะกำหนดลักษณะของสภานักเรียนในแบบใด แต่ส่วนมาก จะกำหนดหลักๆไว้ดังนี้
โดยส่วนใหญ่ บุคลากรสภานักเรียนในแต่ละโรงเรียนจะไม่เหมือนกัน ซึ่งแล้วแต่โรงเรียนว่าจะกำหนดลักษณะของสภานักเรียนในแบบใด แต่ส่วนมาก จะกำหนดหลักๆไว้ดังนี้
: ครูที่ปรึกษา (คอยแนะนำให้คำปรึกษาต่างๆ)
* ครูที่ปรึกษา (คอยแนะนำให้คำปรึกษาต่างๆ)
: ประธานสภานักเรียน
* ประธานสภานักเรียน
: รองประธานสภานักเรียน
* รองประธานสภานักเรียน
: เลขานุการ
* เลขานุการ
: สมาชิกสภานักเรียน
* สมาชิกสภานักเรียน
== สภานักเรียนในประเทศต่างๆ ==
== สภานักเรียนในประเทศต่างๆ ==
=== สหรัฐอเมริกา ===
=== สหรัฐอเมริกา ===


=== ญี่ปุ่น ===
=== ญี่ปุ่น ===

== สภานักเรียนในประเทศไทย ==
=== ไทย ===
ส่วนมาก โรงเรียนเกือบทุกโรงเรียนในประเทศไทยมีสภานักเรียนหมดแล้ว แต่มักจะมีการเรียกสภานักเรียนว่า "คณะกรรมการนักเรียน" และมักจะเปรียบเทียบ "สภานักเรียน" เหมือนระบบรัฐสภา ในระบอบประชาธิปไตย
ในประเทศไทยมีการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย ซึ่งสมาชิกประกอบไปด้วย ประธานสภาเด็กและเยาวชนของทุกจังหวัด รวมทั้งจังหวัดกรุงเทพมหานคร ตามมาตราที่ 32 ใน พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ [[พ.ศ. 2550]]
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==


{{แม่แบบ:สภานักเรียน}}
{{แม่แบบ:สภานักเรียน}}
[[en:Student Council]]
[[en:Student Council]]
[[da:Elevråd]]
[[de:Schülervertretung]]
[[he:מועצת תלמידים]]
[[ja:生徒会]]
[[no:Elevråd]]
[[pt:Associação de estudantes]]
[[sv:Elevkår]]
[[หมวดหมู่:นักเรียน]]
[[หมวดหมู่:นักเรียน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:26, 14 กรกฎาคม 2553

สภานักเรียน (อังกฤษ: Student Council) หรือ คณะกรรมการนักเรียน นั้น เป็นกิจกรรมนอกหลักสูตร ในโรงเรียนระดับมัธยมทั่วโลก ในประเทศสหรัฐอเมริกา , แคนาดา และ ออสเตรเลีย นั้นเรียกสภานักเรียนหลายแบบมากนอกจากชื่อนี้ เช่น รัฐบาลนักเรียน (Student government) หรือ สภากิจกรรมนักเรียน (Student Activity Council), สหพันธ์สภานักเรียน (Student Council Association or S.C.A) สภานักเรียนนั้นมีวัตถุประสงค์ที่จัดตั้งขึ้นมาเพื่อให้รู้จักการมีส่วนร่วม เรียนรู้เกี่ยวกับประชาธิปไตย และ เรียนรู้การเป็นผู้นำ ซึ่งเป็นแนวคิดเดิมของ จอห์น ดิวอี้ นักปรัชญาทางการศึกษา ซึ่งกล่าวไว้ใน ประชาธิปไตยกับการศึกษา (พ.ศ. 2460) และโรงเรียนที่ใช้ระบบสภานักเรียนเป็นแห่งแรกก็คือโรงเรียนลูมิส ชาร์เฟ่ย์ ในเมืองวินซอร์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งใช้เป็นกิจกรรมในหลักสูตร ประมาณ ปี พ.ศ. 2463

บทบาทของสภานักเรียน

บทบาทของสภานักเรียนนั้นจะต้องเป็นกลุ่มที่จะรับฟังความคิด ของนักเรียนในโรงเรียน เพื่อนำไปพูดคุยกับอาจารย์ และสภานักเรียนนั้นจะต้องวมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆที่โรงเรียนจัดขึ้น และต้องสนองนโยบายของโรงเรียนทุกประการ

บุคลากรสภานักเรียน

โดยส่วนใหญ่ บุคลากรสภานักเรียนในแต่ละโรงเรียนจะไม่เหมือนกัน ซึ่งแล้วแต่โรงเรียนว่าจะกำหนดลักษณะของสภานักเรียนในแบบใด แต่ส่วนมาก จะกำหนดหลักๆไว้ดังนี้

  • ครูที่ปรึกษา (คอยแนะนำให้คำปรึกษาต่างๆ)
  • ประธานสภานักเรียน
  • รองประธานสภานักเรียน
  • เลขานุการ
  • สมาชิกสภานักเรียน

สภานักเรียนในประเทศต่างๆ

สหรัฐอเมริกา

ญี่ปุ่น

ไทย

ในประเทศไทยมีการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย ซึ่งสมาชิกประกอบไปด้วย ประธานสภาเด็กและเยาวชนของทุกจังหวัด รวมทั้งจังหวัดกรุงเทพมหานคร ตามมาตราที่ 32 ใน พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550

อ้างอิง

แม่แบบ:สภานักเรียน