ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรมองโกเลีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: it:Scrittura mongola
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล ระบบการเขียน
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Mongol khel.svg|thumb|100px|คำว่า "มองโกล" เขียนด้วยอักษรมองโกเลีย ในภาษามองโกเลีย]]
|name=อักษรมองโกเลีย
|languages=[[ภาษามองโกเลีย]]<br>[[ภาษาเอเวนค์]]
|type=[[อักษรสระ-พยัญชนะ]]
|fam1=[[อักษรโปรโต-คานาอันไนต์]]
|fam2=[[อักษรฟินิเชีย]]
|fam3=[[อักษรอราเมอิก]]
|fam4=[[อักษรซีเรียค]]
|fam5=[[อักษรซอกเดีย]]
|fam6=[[อักษรอุยกูร์โบราณ]]
|fam7=[[อักษรอุยกูร์จิน]]
|sisters=
|children=[[อักษรแมนจู]]<br>[[อักษรโตโด]] (Clear script)<br>[[Vaghintara script]]
|time=ประมาณ พ.ศ. 1747 (ค.ศ. 1204)–ปัจจุบัน
|unicode=[http://www.unicode.org/charts/PDF/U1800.pdf U+1800–U+18AF]
|iso15924=Mong
|sample=Guyuk khan's Stamp 1246.jpg
}}
'''อักษรมองโกเลีย''' เป็นอักษรที่ใช้เขียน[[ภาษามองโกเลีย]]

เมื่อพ.ศ. 1751 [[เจงกิสข่าน]]รบชนะไนมันและนำอักษรอุยกูร์ ตาตาร์-ตอนกา ซึ่งต่อมาพัฒนาเป็น[[อักษรอุยกูร์]] มาเขียน[[ภาษามองโกเลีย]] อักษรอุยกูร์เหล่านี้มาจาก[[อักษรซอกเดีย]] ที่มาจาก[[อักษรอราเมอิก]]อีกต่อหนึ่ง
เมื่อพ.ศ. 1751 [[เจงกิสข่าน]]รบชนะไนมันและนำอักษรอุยกูร์ ตาตาร์-ตอนกา ซึ่งต่อมาพัฒนาเป็น[[อักษรอุยกูร์]] มาเขียน[[ภาษามองโกเลีย]] อักษรอุยกูร์เหล่านี้มาจาก[[อักษรซอกเดีย]] ที่มาจาก[[อักษรอราเมอิก]]อีกต่อหนึ่ง


ระหว่างพ.ศ. 1800 – 2000 ภาษามองโกเลียเขียนด้วย[[อักษรจีน]] [[อักษรอาหรับ]]และ[[อักษรพัก-ปา]] ในช่วงที่ได้รับอิทธิพลจาก[[สหภาพโซเวียต]] ภาษามองโกเลียเขียนด้วย[[อักษรละติน]]เมื่อ พ.ศ. 2474 และใช้[[อักษรซีริลลิก]]เมื่อ พ.ศ. 2480 ใน พ.ศ. 2484 รัฐบาลออกกฎหมายล้มเลิกอักษรมองโกเลีย แต่ได้มีการฟื้นฟูอักษรดังกล่าวอีกเมื่อ พ.ศ. 2537 ปัจจุบันมีการสอนการใช้อักษรนี้ในโรงเรียน ประชาชนราวครึ่งหนึ่งในมองโกเลียรู้อักษรนี้นิดหน่อยหรือไม่รู้เลย ส่วนใหญ่จะอ่านได้เฉพาะอักษรซีริลลิก อักษรมองโกเลียนี้ยังใช้อยู่ใน[[เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน]] ใน[[ประเทศจีน]]
ระหว่างพ.ศ. 1800 – 2000 ภาษามองโกเลียเขียนด้วย[[อักษรจีน]] [[อักษรอาหรับ]]และ[[อักษรพัก-ปา]] ในช่วงที่ได้รับอิทธิพลจาก[[สหภาพโซเวียต]] ภาษามองโกเลียเขียนด้วย[[อักษรละติน]]เมื่อ พ.ศ. 2474 และใช้[[อักษรซีริลลิก]]เมื่อ พ.ศ. 2480 ใน พ.ศ. 2484 รัฐบาลออกกฎหมายล้มเลิกอักษรมองโกเลีย แต่ได้มีการฟื้นฟูอักษรดังกล่าวอีกเมื่อ พ.ศ. 2537 ปัจจุบันมีการสอนการใช้อักษรนี้ในโรงเรียน ประชาชนราวครึ่งหนึ่งในมองโกเลียรู้อักษรนี้นิดหน่อยหรือไม่รู้เลย ส่วนใหญ่จะอ่านได้เฉพาะอักษรซีริลลิก อักษรมองโกเลียนี้ยังใช้อยู่ใน[[เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน]] ใน[[ประเทศจีน]]


อักษรนี้แยกสระและพยัญชนะออกจากกัน เขียนในแนวตั้งจากบนลงล่าง บรรทัดจากซ้ายไปขวา ซึ่งต่างจากอักษรที่เขียนในแนวตั้งอื่นๆที่มักจะเขียนจากขวาไปซ้าย อักษรมีรูปร่างต่างกันขึ้นกับตำแหน่างภายในคำ
อักษรนี้แยกสระและพยัญชนะออกจากกัน เขียนในแนวตั้งจากบนลงล่าง บรรทัดจากซ้ายไปขวา ซึ่งต่างจากอักษรที่เขียนในแนวตั้งอื่นๆที่มักจะเขียนจากขวาไปซ้าย อักษรมีรูปร่างต่างกันขึ้นกับตำแหน่งภายในคำ


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:59, 13 กรกฎาคม 2553

อักษรมองโกเลีย
ชนิดอักษรสระ-พยัญชนะ
ภาษาพูดภาษามองโกเลีย
ภาษาเอเวนค์
ช่วงยุคประมาณ พ.ศ. 1747 (ค.ศ. 1204)–ปัจจุบัน
ระบบแม่
ระบบลูกอักษรแมนจู
อักษรโตโด (Clear script)
Vaghintara script
ช่วงยูนิโคดU+1800–U+18AF
ISO 15924Mong
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด

อักษรมองโกเลีย เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษามองโกเลีย

เมื่อพ.ศ. 1751 เจงกิสข่านรบชนะไนมันและนำอักษรอุยกูร์ ตาตาร์-ตอนกา ซึ่งต่อมาพัฒนาเป็นอักษรอุยกูร์ มาเขียนภาษามองโกเลีย อักษรอุยกูร์เหล่านี้มาจากอักษรซอกเดีย ที่มาจากอักษรอราเมอิกอีกต่อหนึ่ง

ระหว่างพ.ศ. 1800 – 2000 ภาษามองโกเลียเขียนด้วยอักษรจีน อักษรอาหรับและอักษรพัก-ปา ในช่วงที่ได้รับอิทธิพลจากสหภาพโซเวียต ภาษามองโกเลียเขียนด้วยอักษรละตินเมื่อ พ.ศ. 2474 และใช้อักษรซีริลลิกเมื่อ พ.ศ. 2480 ใน พ.ศ. 2484 รัฐบาลออกกฎหมายล้มเลิกอักษรมองโกเลีย แต่ได้มีการฟื้นฟูอักษรดังกล่าวอีกเมื่อ พ.ศ. 2537 ปัจจุบันมีการสอนการใช้อักษรนี้ในโรงเรียน ประชาชนราวครึ่งหนึ่งในมองโกเลียรู้อักษรนี้นิดหน่อยหรือไม่รู้เลย ส่วนใหญ่จะอ่านได้เฉพาะอักษรซีริลลิก อักษรมองโกเลียนี้ยังใช้อยู่ในเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน ในประเทศจีน

อักษรนี้แยกสระและพยัญชนะออกจากกัน เขียนในแนวตั้งจากบนลงล่าง บรรทัดจากซ้ายไปขวา ซึ่งต่างจากอักษรที่เขียนในแนวตั้งอื่นๆที่มักจะเขียนจากขวาไปซ้าย อักษรมีรูปร่างต่างกันขึ้นกับตำแหน่งภายในคำ

อ้างอิง