ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมกมลา ยุคล ณ อยุธยา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
'''คุณหญิงกมลา ยุคล ณ อยุธยา''' หรือ หม่อมบี๋ สกุลเดิม เศรษฐี เกิดเมื่อวันที่ [[8 มกราคม]] [[พ.ศ. 2505]] เป็นชายาของ [[หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล]] หรือท่านมุ้ย มีบุตรและธิดากับหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม รวม 2 คน คือ [[หม่อมราชวงศ์ศรีคำรุ้ง ยุคล]] เกิดเมื่อวันที่ 10 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2527 และ [[หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล]] เกิดเมื่อวันที่ 28 เดือนกันยายน พ.ศ. 2528
'''คุณหญิงกมลา ยุคล ณ อยุธยา''' หรือ หม่อมบี๋ สกุลเดิม เศรษฐี เกิดเมื่อวันที่ [[8 มกราคม]] [[พ.ศ. 2505]] เป็นชายาของ [[หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล]] หรือท่านมุ้ย มีบุตรและธิดากับหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม รวม 2 คน คือ [[หม่อมราชวงศ์ศรีคำรุ้ง ยุคล]] เกิดเมื่อวันที่ 10 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2527 และ [[หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล]] เกิดเมื่อวันที่ 28 เดือนกันยายน พ.ศ. 2528


หม่อมกมลา ยุคลฯ ทำหน้าที่ผู้อำนวยการสร้างของบริษัทพร้อมมิตรภาพยนตร์ ของ หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม คือ ครูสมศรี คนเลี้ยงช้าง น้องเมีย มือปืน สาละวิน เฮโรอีน เสียดาย เสียดาย 2 กล่อง และ[[สุริโยไท]] ได้ร่วมงานและเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการสร้างภาพยนตร์ของท่านมุ้ยมาโดยตลอดนับตั้งแต่ปี 2526 โดยทำหน้าที่เป็นโปรดิวเซอร์ และผู้ควบคุมการผลิต ดูแลความเรียบร้อยในกองถ่าย รวมทั้งการควบคุมดูแลค่าใช้จ่ายต่างๆ ทั้งหมด รวมทั้งการเดินทางไปเจรจากับค่าย ภาพยนตร์ต่างประเทศ ของภาพยนตร์เรื่องสุริโยทัย หม่อมกมลา จะเป็นผู้ประสานงานและเป็นผู้เจรจาร่วมกับตัวแทนของมงคลฟิล์ม
หม่อมกมลา ยุคลฯ ทำหน้าที่ผู้อำนวยการสร้างของบริษัท[[พร้อมมิตรภาพยนตร์]] ของ หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม คือ ครูสมศรี คนเลี้ยงช้าง น้องเมีย มือปืน สาละวิน เฮโรอีน เสียดาย เสียดาย 2 กล่อง และ[[สุริโยไท]] ได้ร่วมงานและเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการสร้างภาพยนตร์ของท่านมุ้ยมาโดยตลอดนับตั้งแต่ปี 2526 โดยทำหน้าที่เป็นโปรดิวเซอร์ และผู้ควบคุมการผลิต ดูแลความเรียบร้อยในกองถ่าย รวมทั้งการควบคุมดูแลค่าใช้จ่ายต่างๆ ทั้งหมด รวมทั้งการเดินทางไปเจรจากับค่าย ภาพยนตร์ต่างประเทศ ของภาพยนตร์เรื่องสุริโยทัย หม่อมกมลา จะเป็นผู้ประสานงานและเป็นผู้เจรจาร่วมกับตัวแทนของมงคลฟิล์ม


5 พฤษภาคม 2550 หม่อมกมลาได้รับพระราชทานเครื่องราชฯ ชั้นจตุตถจุลจอมเกล้า จ.จ.
5 พฤษภาคม 2550 หม่อมกมลาได้รับพระราชทานเครื่องราชฯ ชั้นจตุตถจุลจอมเกล้า จ.จ. <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2550/B/006/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (เนื่องในโอกาสพระราชพิธีฉัตรมงคล วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๐ จำนวน ๑๒๒ ราย)]</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
*[http://www.sakulthai.com/DSakulcolumndetailsql.asp?stcolumnid=913&stissueid=2451&stcolcatid=1&stauthorid=62 หม่อมกมลา ยุคลฯ ผู้อยู่เบื้องหลังความสำเร็จ “สุริโยไท”] sakulthai.com
*[http://www.sakulthai.com/DSakulcolumndetailsql.asp?stcolumnid=913&stissueid=2451&stcolcatid=1&stauthorid=62 หม่อมกมลา ยุคลฯ ผู้อยู่เบื้องหลังความสำเร็จ “สุริโยไท”] sakulthai.com
*[http://203.151.217.76/offline.php?section=hotnews&content=46045 ภริยานายกฯ ท่านผู้หญิงใหม่ 6 พ.ค. 50 - 03:14] ไทยรัฐ
*[http://203.151.217.76/offline.php?section=hotnews&content=46045 ภริยานายกฯ ท่านผู้หญิงใหม่ 6 พ.ค. 50 - 03:14] ไทยรัฐ
*[http://www.businessthai.co.th/content.php?data=401032_Business%20Profile 10นักการตลาดเด่นแห่งปี2544] โดย บิสิเนสไทย
*[http://www.businessthai.co.th/content.php?data=401032_Business%20Profile 10นักการตลาดเด่นแห่งปี2544] โดย บิสิเนสไทย


{{เรียงลำดับ|กมลา}}
[[หมวดหมู่:ราชสกุลยุคล|กมลา]]
[[หมวดหมู่:ราชสกุลยุคล|กมลา]]
[[หมวดหมู่:หม่อม|กมลา]]
[[หมวดหมู่:หม่อม|กมลา]]
[[หมวดหมู่:คุณหญิง|กมลา]]
[[หมวดหมู่:คุณหญิง|กมลา]]
[[หมวดหมู่:ผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ จ.จ.]]
{{เกิดปี|2505}}
{{เกิดปี|2505}}
{{โครงชีวประวัติ}}
{{โครงชีวประวัติ}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:25, 6 กรกฎาคม 2553

แม่แบบ:กล่องข้อมูล เจ้านายหรือพระบรมวงศานุวงศ์

คุณหญิงกมลา ยุคล ณ อยุธยา หรือ หม่อมบี๋ สกุลเดิม เศรษฐี เกิดเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2505 เป็นชายาของ หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล หรือท่านมุ้ย มีบุตรและธิดากับหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม รวม 2 คน คือ หม่อมราชวงศ์ศรีคำรุ้ง ยุคล เกิดเมื่อวันที่ 10 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2527 และ หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล เกิดเมื่อวันที่ 28 เดือนกันยายน พ.ศ. 2528

หม่อมกมลา ยุคลฯ ทำหน้าที่ผู้อำนวยการสร้างของบริษัทพร้อมมิตรภาพยนตร์ ของ หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม คือ ครูสมศรี คนเลี้ยงช้าง น้องเมีย มือปืน สาละวิน เฮโรอีน เสียดาย เสียดาย 2 กล่อง และสุริโยไท ได้ร่วมงานและเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการสร้างภาพยนตร์ของท่านมุ้ยมาโดยตลอดนับตั้งแต่ปี 2526 โดยทำหน้าที่เป็นโปรดิวเซอร์ และผู้ควบคุมการผลิต ดูแลความเรียบร้อยในกองถ่าย รวมทั้งการควบคุมดูแลค่าใช้จ่ายต่างๆ ทั้งหมด รวมทั้งการเดินทางไปเจรจากับค่าย ภาพยนตร์ต่างประเทศ ของภาพยนตร์เรื่องสุริโยทัย หม่อมกมลา จะเป็นผู้ประสานงานและเป็นผู้เจรจาร่วมกับตัวแทนของมงคลฟิล์ม

5 พฤษภาคม 2550 หม่อมกมลาได้รับพระราชทานเครื่องราชฯ ชั้นจตุตถจุลจอมเกล้า จ.จ. [1]

อ้างอิง