ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ออร์สัน สก็อต การ์ด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jittat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Bact (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ออร์สัน สก็อต การ์ด (Orson Scott Card)''' [[นักเขียน]]ที่มีผลงานสม่ำเสมอ ในหลายๆ ประเภท รวมถึง[[นิยายวิทยาศาสตร์]]

{{โครง}}
{{โครง}}
'''ออร์สัน สก็อต การ์ด (Orson Scott Card)''' [[นักเขียน]]ที่มีผลงานสม่ำเสมอ ในหลาย ๆ ประเภท รวมถึง[[นิยายวิทยาศาสตร์]]


การ์ดเริ่มอาชีพนักเขียนของเขาด้วยการเขียน[[นิยายวิทยาศาสตร์]] (เช่น ''Hot Sleep'' และ ''Capitol'') หลังจากนั้นมักเป็นนิยาย[[แฟนตาซี]] (''Songmaster'') เขาเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางจากผลงานเรื่อง ''[[เกมของเอ็นเดอร์]]'' (''Ender's Game'') ที่เป็นหนึ่งในนิยายวิทยาศาสตร์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดนับตั้งแต่การพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี [[พ.ศ. 2528]] ทั้ง ''เกมของเอ็นเดอร์'' และนิยายภาคต่อ ''Speaker for the Dead'' ได้รับทั้ง[[รางวัลฮิวโก]]และ[[รางวัลเนบิวลา]] ทำให้การ์ดเป็นนักเขียนคนเดียว ([[เท่าที่ทราบจนถึงปี พ.ศ. 2547]]) ที่ชนะรางวัลสูงสุดของนิยายวิทยาศาสตร์สองรางวัลพร้อมกันในปีติดกัน การ์ดได้เขียนเรื่องราวต่อเนื่องกันเป็นลำดับ ด้วยเรื่อง ''Xenocide'', ''Children of the Mind'', ''Ender's Shadow'', ''Shadow of the Hegemon'', ''Shadow Puppets'', และในปีพ.ศ. 2548 เรื่อง ''Shadow of the Giant'' การ์ดได้ประกาศว่า ''เกมของเอ็นเดอร์'' จะได้รับการสร้างเป็นภาพยนตร์ (''ดู [[เกมของเอ็นเดอร์ (ภาพยนตร์)]]'').
การ์ดเริ่มอาชีพนักเขียนของเขาด้วยการเขียน[[นิยายวิทยาศาสตร์]] (เช่น ''Hot Sleep'' และ ''Capitol'') หลังจากนั้นมักเป็นนิยาย[[แฟนตาซี]] (''Songmaster'') เขาเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางจากผลงานเรื่อง ''[[เกมของเอ็นเดอร์]]'' (''Ender's Game'') ที่เป็นหนึ่งในนิยายวิทยาศาสตร์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดนับตั้งแต่การพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี [[พ.ศ. 2528]] ทั้ง ''เกมของเอ็นเดอร์'' และนิยายภาคต่อ ''Speaker for the Dead'' ได้รับทั้ง[[รางวัลฮิวโก]]และ[[รางวัลเนบิวลา]] ทำให้การ์ดเป็นนักเขียนคนเดียว (เท่าที่ทราบจนถึงปี [[พ.ศ. 2547]]) ที่ชนะรางวัลสูงสุดของนิยายวิทยาศาสตร์สองรางวัลพร้อมกันในปีติดกัน การ์ดได้เขียนเรื่องราวต่อเนื่องกันเป็นลำดับ ด้วยเรื่อง ''Xenocide'', ''Children of the Mind'', ''Ender's Shadow'', ''Shadow of the Hegemon'', ''Shadow Puppets'', และในปี [[พ.ศ. 2548]] เรื่อง ''Shadow of the Giant'' การ์ดได้ประกาศว่า ''เกมของเอ็นเดอร์'' จะได้รับการสร้างเป็นภาพยนตร์ (''ดู [[เกมของเอ็นเดอร์ (ภาพยนตร์)]]'').


เขาได้ฉีกตัวเองและได้เขียนนิยายร่วมสมัย รวมถึงได้ร่วมทำงานกับผู้กำกับ และนักวาดการ์ตูนที่มีชื่อเสียง
เขาได้ฉีกตัวเองและได้เขียนนิยายร่วมสมัย รวมถึงได้ร่วมทำงานกับผู้กำกับ และนักวาดการ์ตูนที่มีชื่อเสียง
บรรทัด 10: บรรทัด 9:
การเขียนของเขาเต็มไปด้วย[[การสร้างตัวละคร]]อย่างละเอียด และประเด็นด้านศีลธรรม ดังที่การ์ดได้กลาวไว้ว่า "เราแคร์ในเรื่องประเด็นด้านศีลธรรม ความยิ่งใหญ่<!--nobility--> ความถูกต้อง ความสุข และความดี&mdash;ซึ่งเป็นประเด็นที่มีผลในโลกของความเป็นจริง แต่เป็นสิ่งที่สามารถกล่าวถึงได้ในระดับแก่นแท้ แค่ในนิยายเท่านั้น"
การเขียนของเขาเต็มไปด้วย[[การสร้างตัวละคร]]อย่างละเอียด และประเด็นด้านศีลธรรม ดังที่การ์ดได้กลาวไว้ว่า "เราแคร์ในเรื่องประเด็นด้านศีลธรรม ความยิ่งใหญ่<!--nobility--> ความถูกต้อง ความสุข และความดี&mdash;ซึ่งเป็นประเด็นที่มีผลในโลกของความเป็นจริง แต่เป็นสิ่งที่สามารถกล่าวถึงได้ในระดับแก่นแท้ แค่ในนิยายเท่านั้น"


[[category:นักประพันธ์]] [[category:นักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์]]
[[Category:นักประพันธ์]]
[[Category:นักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์]]


[[bg:Орсън Кард]]
[[bg:Орсън Кард]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:37, 16 พฤษภาคม 2548

ออร์สัน สก็อต การ์ด (Orson Scott Card) นักเขียนที่มีผลงานสม่ำเสมอ ในหลาย ๆ ประเภท รวมถึงนิยายวิทยาศาสตร์

การ์ดเริ่มอาชีพนักเขียนของเขาด้วยการเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ (เช่น Hot Sleep และ Capitol) หลังจากนั้นมักเป็นนิยายแฟนตาซี (Songmaster) เขาเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางจากผลงานเรื่อง เกมของเอ็นเดอร์ (Ender's Game) ที่เป็นหนึ่งในนิยายวิทยาศาสตร์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดนับตั้งแต่การพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2528 ทั้ง เกมของเอ็นเดอร์ และนิยายภาคต่อ Speaker for the Dead ได้รับทั้งรางวัลฮิวโกและรางวัลเนบิวลา ทำให้การ์ดเป็นนักเขียนคนเดียว (เท่าที่ทราบจนถึงปี พ.ศ. 2547) ที่ชนะรางวัลสูงสุดของนิยายวิทยาศาสตร์สองรางวัลพร้อมกันในปีติดกัน การ์ดได้เขียนเรื่องราวต่อเนื่องกันเป็นลำดับ ด้วยเรื่อง Xenocide, Children of the Mind, Ender's Shadow, Shadow of the Hegemon, Shadow Puppets, และในปี พ.ศ. 2548 เรื่อง Shadow of the Giant การ์ดได้ประกาศว่า เกมของเอ็นเดอร์ จะได้รับการสร้างเป็นภาพยนตร์ (ดู เกมของเอ็นเดอร์ (ภาพยนตร์)).

เขาได้ฉีกตัวเองและได้เขียนนิยายร่วมสมัย รวมถึงได้ร่วมทำงานกับผู้กำกับ และนักวาดการ์ตูนที่มีชื่อเสียง

การเขียนของเขาเต็มไปด้วยการสร้างตัวละครอย่างละเอียด และประเด็นด้านศีลธรรม ดังที่การ์ดได้กลาวไว้ว่า "เราแคร์ในเรื่องประเด็นด้านศีลธรรม ความยิ่งใหญ่ ความถูกต้อง ความสุข และความดี—ซึ่งเป็นประเด็นที่มีผลในโลกของความเป็นจริง แต่เป็นสิ่งที่สามารถกล่าวถึงได้ในระดับแก่นแท้ แค่ในนิยายเท่านั้น"