ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มัชฌิมาปฏิปทา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด}}
{{เก็บกวาด}}
'''มัชฌิมาปฏิปทา''' แปลว่าทางสายกลาง หมายถึง ทางปฏิบัติที่ไม่สุดโต่ง ไปในทางอุดมการณืใด อุดมการณ์หนึ่งเกินไป มุ่งเน้นใช้ปัญญาในการแก้ปัญหา มักไม่ยืดถือหลักการอย่างงมงาย เช่น ถือวัตถุหรือจิตใจมีค่า ยึดสิทธิปัจเจกชนหรือสังคมสำคัญ
'''มัชฌิมาปฏิปทา''' แปลว่าทางสายกลาง หมายถึง ทางปฏิบัติที่ไม่สุดโต่งไปในทางอุดมการณ์ใดอุดมการณ์หนึ่งเกินไป มุ่งเน้นใช้ปัญญาในการแก้ปัญหา มักไม่ยืดถือหลักการอย่างงมงาย เช่น ถือวัตถุหรือจิตใจมีค่า ยึดสิทธิปัจเจกชนหรือสังคมสำคัญ
ในทางพุทธศาสนาหมายถึงทางสายกลางคือ[[อริยมรรค]]มีองค์8 คือ[[ศีล]] [[สมาธิ]] [[ปัญญา]] ที่ไม่ใช่ทางสายกลวง คือ สักแต่ว่ากลาง แตไม่กำหนด วิธีที่ถูกต้องเลย คือการไมยึดถือสุดทางทั้ง2คือ '''อัตตกิลมถานุโยค''' การประกอบตนเองให้ลำบากเกินไป '''กามสุขัลลิกานุโยค'''การพัวพันในกามในความสบาย
ในทางพุทธศาสนาหมายถึงทางสายกลางคือ[[อริยมรรค]]มีองค์8 คือ[[ศีล]] [[สมาธิ]] [[ปัญญา]] ที่ไม่ใช่ทางสายกลาง คือ สักแต่ว่ากลาง แตไม่กำหนดวิธีที่ถูกต้องเลย คือการไม่ยึดถือสุดทางทั้ง 2 คือ '''อัตตกิลมถานุโยค''' การประกอบตนเองให้ลำบากเกินไป '''กามสุขัลลิกานุโยค'''การพัวพันในกามในความสบาย
[[หมวดหมู่:พุทธศาสนา]]
[[หมวดหมู่:พุทธศาสนา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:42, 31 พฤษภาคม 2553

มัชฌิมาปฏิปทา แปลว่าทางสายกลาง หมายถึง ทางปฏิบัติที่ไม่สุดโต่งไปในทางอุดมการณ์ใดอุดมการณ์หนึ่งเกินไป มุ่งเน้นใช้ปัญญาในการแก้ปัญหา มักไม่ยืดถือหลักการอย่างงมงาย เช่น ถือวัตถุหรือจิตใจมีค่า ยึดสิทธิปัจเจกชนหรือสังคมสำคัญ ในทางพุทธศาสนาหมายถึงทางสายกลางคืออริยมรรคมีองค์8 คือศีล สมาธิ ปัญญา ที่ไม่ใช่ทางสายกลาง คือ สักแต่ว่ากลาง แตไม่กำหนดวิธีที่ถูกต้องเลย คือการไม่ยึดถือสุดทางทั้ง 2 คือ อัตตกิลมถานุโยค การประกอบตนเองให้ลำบากเกินไป กามสุขัลลิกานุโยคการพัวพันในกามในความสบาย