ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนกาญจนาภิเษก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 63: บรรทัด 63:
|ปลายทาง =[[ไฟล์:Thai Motorway-t9.svg|20px]] กาญจนาภิเษก (ตะวันออก) ใน [[อำเภอบางพลี|บางพลี]] [[จังหวัดสมุทรปราการ|สมุทรปราการ]]
|ปลายทาง =[[ไฟล์:Thai Motorway-t9.svg|20px]] กาญจนาภิเษก (ตะวันออก) ใน [[อำเภอบางพลี|บางพลี]] [[จังหวัดสมุทรปราการ|สมุทรปราการ]]
}}
}}
ถนนกาญจนาภิเษกด้านใต้ (บางพลี-บางขุนเทียน) ได้เปิดให้ใช้งานเมื่อวันที่ [[15 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2550]] ทำให้ถนนวงแหวนรอบนอกสามารถใช้งานได้ครบทุกด้าน โดยก่อสร้างเป็นทางยกระดับขนาด 6-8 ช่องจราจรเนื่องจากที่ดินบริเวณแนวการก่อสร้างนั้นอ่อนมาก ระยะทาง 34 กิโลเมตร แบ่งการดำเนินการออกเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงบางขุนเทียน-สุขสวัสดิ์ และช่วงสุขสวัสดิ์-บางพลี ซึ่งช่วงที่สองนี้เป็นส่วนของ [[ทางพิเศษสายบางพลี-สุขสวัสดิ์]] โดยมีการก่อสร้างสะพานแขวนข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาเพิ่มเติมอีก 1 แห่ง ที่ตำบลบางจาก อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โดย[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระราชทานนามสะพานแห่งนี้ว่า "[[สะพานกาญจนาภิเษก]]" พร้อมด้วยระบบเก็บค่าผ่านทางและระบบควบคุมความปลอดภัยด้านการจราจร เปิดให้บริการเมื่อวันที่ [[23 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2552]] รวมจำนวน 28 ด่าน
ถนนกาญจนาภิเษกด้านใต้ (บางพลี-บางขุนเทียน) ได้เปิดให้ใช้งานเมื่อวันที่ [[15 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2550]] ทำให้ถนนวงแหวนรอบนอกสามารถใช้งานได้ครบทุกด้าน โดยก่อสร้างเป็นทางยกระดับขนาด 6-8 ช่องจราจรเนื่องจากที่ดินบริเวณแนวการก่อสร้างนั้นอ่อนมาก ระยะทาง 34 กิโลเมตร แบ่งการดำเนินการออกเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงบางขุนเทียน-สุขสวัสดิ์ และช่วงสุขสวัสดิ์-บางพลี ซึ่งช่วงที่สองนี้เป็นส่วนของ [[ทางพิเศษสายบางพลี-สุขสวัสดิ์]] โดยมีการก่อสร้างสะพานแขวนข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาเพิ่มเติมอีก 1 แห่ง ที่ตำบลบางจาก อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โดย[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระราชทานนามสะพานแห่งนี้ว่า "[[สะพานกาญจนาภิเษก]]" พร้อมด้วยระบบเก็บค่าผ่านทางและระบบควบคุมความปลอดภัยด้านการจราจร เปิดให้บริการเมื่อวันที่ [[23 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2552]] รวมจำนวน 29 ด่าน


* ในเขต[[จังหวัดสมุทรปราการ]] เริ่มจาก[[อำเภอพระประแดง]] ข้าม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ไปยัง[[อำเภอเมืองสมุทรปราการ]] โดยเชื่อมต่อกับโครงการ[[สะพานวงแหวนอุตสาหกรรม|วงแหวนอุตสาหกรรม]]ในอนาคต แล้วตรงไปบรรจบกับถนนกาญจนาภิเษกด้านตะวันออก ที่[[ถนนบางนา-บางปะกง|ทางแยกต่างระดับวัดสลุด]] โดยเชื่อมต่อกับ [[ทางพิเศษบูรพาวิถี]]
* ในเขต[[จังหวัดสมุทรปราการ]] เริ่มจาก[[อำเภอพระประแดง]] ข้าม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ไปยัง[[อำเภอเมืองสมุทรปราการ]] โดยเชื่อมต่อกับโครงการ[[สะพานวงแหวนอุตสาหกรรม|วงแหวนอุตสาหกรรม]]ในอนาคต แล้วตรงไปบรรจบกับถนนกาญจนาภิเษกด้านตะวันออก ที่[[ถนนบางนา-บางปะกง|ทางแยกต่างระดับวัดสลุด]] โดยเชื่อมต่อกับ [[ทางพิเศษบูรพาวิถี]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:15, 14 พฤษภาคม 2553

ถนนกาญจนาภิเษก (Thanon Kanchanaphisek) หรือ ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 (ถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร) เป็นถนนสายสำคัญที่มีเส้นทางเชื่อมต่อกันเป็นวงแหวนล้อมรอบตัวเมืองกรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ และตัดผ่านเข้าไปในพื้นที่พระนครศรีอยุธยาด้วย ตลอดทั้งสายมีสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาทั้งหมด 2 แห่ง ได้แก่ ด้านเหนือ คือ สะพานเชียงราก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และด้านใต้ คือ สะพานกาญจนาภิเษก จังหวัดสมุทรปราการ

ถนนกาญจนาภิเษกสร้างขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการจราจรที่ติดขัดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่มีปริมาณการจราจรและการขนส่งเพิ่มขึ้น อันเป็นผลจากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และเป็นทางเลี่ยงเมืองกรุงเทพมหานครที่เป็นตัวเชื่อมทางสายหลักเข้าไปสู่ทุกภาคของประเทศ เดิมมักเรียกกันว่า ถนนวงแหวนรอบนอก (ตะวันตก) มีระยะทางเริ่มตั้งแต่ถนนพระรามที่ 2 ตัดผ่านฝั่งธนบุรี เข้าสู่จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี ไปสิ้นสุดที่ถนนพหลโยธิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้เชิญชื่อ พระราชพิธีกาญจนาภิเษก ซึ่งเป็นพระราชพิธีที่พระองค์ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปีในปี พ.ศ. 2539 มาเป็นชื่อเรียกถนนสายนี้ (และกรมทางหลวงได้เปลี่ยนหมายเลขทางหลวงของถนนสายนี้ จากทางหลวงหมายเลข 37 เป็นทางหลวงพิเศษหมายเลข "9") หลังจากนั้นจึงได้มีการสร้างถนนวงแหวนรอบนอกด้านตะวันออกและด้านใต้ขึ้นตามมาเป็นตอน ๆ เนื่องจากค่าใช้จ่ายในการสร้างสูงมาก

ถนนกาญจนาภิเษกด้านตะวันตก

ตะวันตก
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 9
ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ถนนกาญจนาภิเษก (ตะวันตก)
ข้อมูลของเส้นทาง
ส่วนหนึ่งของ
ความยาว68 กิโลเมตร (42 ไมล์)
มีขึ้นเมื่อพ.ศ. 2521, พ.ศ. 2538 และ พ.ศ. 2543–ปัจจุบัน
ทางแยกที่สำคัญ
ปลายทางทิศเหนือ พหลโยธิน ใน บางปะอิน พระนครศรีอยุธยา
 โปรดดูด้านล่าง
ปลายทางทิศใต้ กาญจนาภิเษก (ใต้) ใน บางขุนเทียน กรุงเทพฯ
ตำแหน่งที่ตั้ง
ประเทศไทย
ระบบทางหลวง

ถนนตลิ่งชัน-สุพรรณบุรี (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340) สร้างแล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2521 ต่อมาได้ยุบรวมกับถนนพระรามที่ 2-ตลิ่งชัน เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 37 หรือ ถนนกาญจนาภิเษกด้านตะวันตก (บางปะอิน-บางบัวทอง-บางขุนเทียน) ก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2538 และปี พ.ศ. 2543 (บางช่วง) เป็นทางขนาด 10-12 ช่องทางจราจร มีระยะทาง 68 กิโลเมตร อยู่ในการดูแลของสำนักทางหลวงที่ 11 (กรุงเทพฯ) กรมทางหลวง

ถนนกาญจนาภิเษกด้านตะวันตกป็นถนนด้านที่สร้างขึ้นก่อนด้านอื่น ๆ ในอดีต คือ ถนนตลิ่งชัน-สุพรรณบุรีเดิมและส่วนต่อขยายจากบางบัวทองไปบรรจบกับถนนพหลโยธิน บริเวณแยกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 (สายเอเชีย)

ถนนกาญจนาภิเษกด้านตะวันออก

ตะวันออก
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 9
ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ถนนกาญจนาภิเษก (ตะวันออก)
ข้อมูลของเส้นทาง
ความยาว63 กิโลเมตร (39 ไมล์)
มีขึ้นเมื่อพ.ศ. 2541–ปัจจุบัน
ทางแยกที่สำคัญ
ปลายทางทิศเหนือ พหลโยธิน ใน วังน้อย พระนครศรีอยุธยา
 โปรดดูด้านล่าง
ปลายทางทิศใต้ ถนนบางนา-บางปะกง ใน บางพลี สมุทรปราการ
ตำแหน่งที่ตั้ง
ประเทศไทย
ระบบทางหลวง

ถนนกาญจนาภิเษกด้านตะวันออก (บางปะอิน-บางพลี) เป็นทางขนาด 4-8 ช่องจราจร ระยะทาง 63 กิโลเมตร ก่อสร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2541 อยู่ในการดูแลของกองทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง(สำนักงานทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองเดิม)

ปัจจุบันเพื่อเป็นการรองรับปริมาณการจราจรที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งถนนกาญจนาภิเษกด้านตะวันออก เป็นเส้นทางคมนาคมสายหลักไปสู่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ กรมทางหลวงจึงทำการก่อสร้างโครงการส่วนต่อขยายตั้งแต่ทางต่างระดับวัดสลุดจนถึงทางต่างระดับบางปะอิน โดยขยายช่องจราจรจากเดิม 4 ช่องจราจรเป็น 6-8 ช่องจราจร โดยเริ่มก่อสร้างตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 ก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2553

ถนนกาญจนาภิเษกด้านใต้

ตะวันตก
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 9
ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ถนนกาญจนาภิเษก (ใต้)
ข้อมูลของเส้นทาง
ความยาว34 กิโลเมตร (21 ไมล์)
มีขึ้นเมื่อพ.ศ. 2546 และ พ.ศ. 2550–ปัจจุบัน
ทางแยกที่สำคัญ
ปลายทางทิศตะวันตก กาญจนาภิเษก (ตะวันตก) ใน บางขุนเทียน กรุงเทพฯ
 โปรดดูด้านล่าง
ปลายทางทิศตะวันออก กาญจนาภิเษก (ตะวันออก) ใน บางพลี สมุทรปราการ
ตำแหน่งที่ตั้ง
ประเทศไทย
ระบบทางหลวง

ถนนกาญจนาภิเษกด้านใต้ (บางพลี-บางขุนเทียน) ได้เปิดให้ใช้งานเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ทำให้ถนนวงแหวนรอบนอกสามารถใช้งานได้ครบทุกด้าน โดยก่อสร้างเป็นทางยกระดับขนาด 6-8 ช่องจราจรเนื่องจากที่ดินบริเวณแนวการก่อสร้างนั้นอ่อนมาก ระยะทาง 34 กิโลเมตร แบ่งการดำเนินการออกเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงบางขุนเทียน-สุขสวัสดิ์ และช่วงสุขสวัสดิ์-บางพลี ซึ่งช่วงที่สองนี้เป็นส่วนของ ทางพิเศษสายบางพลี-สุขสวัสดิ์ โดยมีการก่อสร้างสะพานแขวนข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาเพิ่มเติมอีก 1 แห่ง ที่ตำบลบางจาก อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานนามสะพานแห่งนี้ว่า "สะพานกาญจนาภิเษก" พร้อมด้วยระบบเก็บค่าผ่านทางและระบบควบคุมความปลอดภัยด้านการจราจร เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2552 รวมจำนวน 29 ด่าน

สถานที่สำคัญที่ตั้งอยู่บริเวณถนน

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  • พระนครศรีอยุธยา: สำนักงานบำรุงทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองและแขวงการทางอยุธยา
  • ปทุมธานี: แขวงการทางปทุมธานีและสำนักงานบำรุงทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง
  • นนทบุรี: สำนักงานบำรุงทางนนทบุรี
  • กรุงเทพมหานคร: สำนักงานบำรุงทางธนบุรี สำนักงานบำรุงทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง และการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
  • สมุทรปราการ: สำนักงานบำรุงทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองและการทางพิเศษแห่งประเทศไทย

ทางแยกที่สำคัญ

รายชื่อทางแยกบน ทิศทาง: ทวนเข็มนาฬิกา เริ่มจากต่างระดับบางปะอิน
จังหวัด กม.ที่ ชื่อจุดตัด ซ้าย ขวา
{{{ทิศทาง}}}
|-


ถนนพหลโยธิน ไม่มี ไม่มี |-


ถนนพหลโยธิน ไม่มี ไม่มี
|-


ไม่มี ไม่มี |-


ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 ไม่มี ไม่มี
|-


ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 347 ไม่มี ไม่มี |-


ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 347 ไม่มี ไม่มี
|-


ทางพิเศษอุดรรัถยา ไม่มี ไม่มี |-


ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนปทุมธานี-ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร ไม่มี ไม่มี |-


ถนนปทุมธานี-ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร ไม่มี ไม่มี
สะพานเชียงราก ข้ามข้าม แม่น้ำเจ้าพระยา
|-


ถนนสามโคก-เสนา ไม่มี ไม่มี |-


ถนนสามโคก-เสนา ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนปทุมธานี-บางเลน ไม่มี ไม่มี |-


ถนนปทุมธานี-บางเลน ไม่มี ไม่มี
|-


ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 345 ไม่มี ไม่มี |-


ถนนบางบัวทอง-สุพรรณบุรี ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนบางกรวย-ไทรน้อย ไม่มี ไม่มี |-


ถนนบางกรวย-ไทรน้อย ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนเทศบาล 3 ไม่มี ไม่มี |-


ถนนบ้านกล้วย-ไทรน้อย ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนรัตนาธิเบศร์ ไม่มี ไม่มี |-


ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนนครอินทร์ ไม่มี ไม่มี |-


ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนบรมราชชนนี ไม่มี ไม่มี |-


ถนนบรมราชชนนี ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนเพชรเกษม ไม่มี ไม่มี |-


ถนนเพชรเกษม ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนกัลปพฤกษ์ ไม่มี ไม่มี |-


ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนเอกชัย ไม่มี ไม่มี |-


ถนนเอกชัย ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนพระรามที่ 2 ไม่มี ไม่มี |-


ถนนพระรามที่ 2 ไม่มี ไม่มี
{{{ทิศทาง}}}
|-


ถนนบางขุนเทียน-ชายทะเล ไม่มี ไม่มี |-


ถนนบางขุนเทียน-ชายทะเล ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนประชาอุทิศ ไม่มี ไม่มี |-


ถนนประชาอุทิศ ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนสุขสวัสดิ์ ไม่มี ไม่มี |-


ถนนสุขสวัสดิ์ ไม่มี ไม่มี
สะพานกาญจนาภิเษก ข้ามข้าม แม่น้ำเจ้าพระยา
|-


ถนนสุขุมวิท ไม่มี ไม่มี |-


ถนนสุขุมวิท ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนศรีนครินทร์ ไม่มี ไม่มี |-


ถนนศรีนครินทร์ ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนเทพารักษ์ ไม่มี ไม่มี |-


ถนนเทพารักษ์ ไม่มี ไม่มี
{{{ทิศทาง}}}
|-


ถนนบางนา-บางปะกง ไม่มี ไม่มี |-


ถนนบางนา-บางปะกง ไม่มี ไม่มี
|-


ทางพิเศษบูรพาวิถี ไม่มี ไม่มี |-


ทางพิเศษบูรพาวิถี ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนอ่อนนุช ไม่มี ไม่มี |-


ถนนอ่อนนุช ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนกรุงเทพฯ-ชลบุรี ไม่มี ไม่มี |-


ถนนกรุงเทพฯ-ชลบุรี ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนรามคำแหง ไม่มี ไม่มี |-


ถนนรามคำแหง ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนเสรีไทย ไม่มี ไม่มี |-


ถนนเสรีไทย ไม่มี ไม่มี
|-


ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 350 ไม่มี ไม่มี |-


ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 350 ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนรามอินทรา ไม่มี ไม่มี |-


ถนนรามอินทรา ไม่มี ไม่มี
|-


ทางพิเศษฉลองรัช (ช่วงรามอินทรา-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร) ไม่มี ไม่มี |-


ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนหทัยราษฎร์ ไม่มี ไม่มี |-


ถนนหทัยราษฎร์ ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนลำลูกกา ไม่มี ไม่มี |-


ถนนลำลูกกา ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนรังสิต-นครนายก ไม่มี ไม่มี |-


ถนนรังสิต-นครนายก ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนคลองหลวง ไม่มี ไม่มี |-


ถนนคลองหลวง ไม่มี ไม่มี
|-


ถนนพหลโยธิน ไม่มี ไม่มี |-


ถนนพหลโยธิน ไม่มี ไม่มี
      สะพาน              กำลังก่อสร้างหรือโครงการในอนาคต

ดูเพิ่ม

แม่แบบ:ทางหลวงพิเศษในประเทศไทย