ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การทูต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ArthurBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: war:Diplomasyá
Egmontbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: hif:Kutniti
บรรทัด 48: บรรทัด 48:
[[he:דיפלומטיה]]
[[he:דיפלומטיה]]
[[hi:राजनय]]
[[hi:राजनय]]
[[hif:Kutniti]]
[[hr:Diplomacija]]
[[hr:Diplomacija]]
[[hu:Diplomácia]]
[[hu:Diplomácia]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:58, 24 เมษายน 2553

การทูต (อังกฤษ: Diplomacy) เป็นศิลปะและทักษะการเจรจา สนทนา สื่อสาร รวมถึงการติดต่อธุระต่าง ๆระหว่างบุคคลที่ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการให้เป็นตัวแทนการเจรจาขององค์กรหรือประเทศ

การทูต เป็นการแสดงถึงการเชื่อมสัมพันธไมตรีระหว่างกัน ให้มีความสัมพันธ์ทางด้านต่าง ๆ ที่ประเทศนั้น ๆ มีต่ออีกประเทศหนึ่ง โดยจะมีข้อตกลงที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น การทูต เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง ไทย-มาเลเซีย โดยมีท่านทูตไปประจำทั้ง 2 ประเทศ เป็นต้น หากเกิดความขัดแย้งระหว่างประเทศ เราสามารถเรียกทูตกลับประเทศไทย หรือเรียกว่า การลดความสัมพันธ์ระหว่างกัน

บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้อง

  • บุคคลที่เดินทางไปต่างประเทศโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อการแสดงมิตรไมตรีต่อต่างชาติ และเป็นบุคคลที่เป็นตัวแทนของรัฐนั้น ๆ เรียกว่า ทูต ซึ่ง มีการแบ่งแยกการเรียกอีกตามระดับ
  • บุคคลที่เดินทางไปต่างประเทศร่วมกับคณะทูต มีหน้าที่ในการอารักขาทูต ซึ่งต้องขออนุญาตจากทางการของรัฐนั้นๆก่อน คือ ทหารของทูต
  • พนักงานที่ทำงานในสถานทูต ซึ่งมีหน้าที่ในการลงบันทึกต่าง ๆ หรือติดต่อประสานงานหลาย ๆ ฝ่าย คือ พนักงานทูต

บุคคลที่เป็นตัวแทนของประเทศต่าง ๆ หรือ เรียกว่าทูตนั้น ไม่ว่าจะทำอะไรก็ตามก็จะถือว่าไม่มีความผิด ใดทั้งสินในประเทศที่ไปดำเนินการอยู่ แต่จะถูกดำเนินคดีในรัฐซึ่งตนได้รับมอบหมาย

ดูเพิ่ม

แม่แบบ:Link FA