ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
MondalorBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: hu:Isenheimi oltár; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
| width=?
| width=?
| museum= [[Unterlinden Museum|พิพิธภัณฑ์อุนเทอร์ลินเดน]], [[โคลมาร์]]}}
| museum= [[Unterlinden Museum|พิพิธภัณฑ์อุนเทอร์ลินเดน]], [[โคลมาร์]]}}
[[Image:Grunewald Isenheim3.jpg|thumb|300px|มุมที่สาม]]
[[ไฟล์:Grunewald Isenheim3.jpg|thumb|300px|มุมที่สาม]]
'''ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์''' ({{lang-en|Isenheim Altarpiece}}) เป็น[[ฉากแท่นบูชา]]ที่เขียนโดย[[แม็ทไทอัส กรึนวอลด์]]จิตรกรคนสำคัญ[[ชาวเยอรมัน]]ของสมัย[[ศิลปะเรอเนซองส์|เรอเนซองส์]] ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่[[Unterlinden Museum|พิพิธภัณฑ์อุนเทอร์ลินเดน]]ที่[[โคลมาร์]]ใน[[ประเทศฝรั่งเศส]]
'''ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์''' ({{lang-en|Isenheim Altarpiece}}) เป็น[[ฉากแท่นบูชา]]ที่เขียนโดย[[แม็ทไทอัส กรึนวอลด์]]จิตรกรคนสำคัญ[[ชาวเยอรมัน]]ของสมัย[[ศิลปะเรอเนซองส์|เรอเนซองส์]] ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่[[Unterlinden Museum|พิพิธภัณฑ์อุนเทอร์ลินเดน]]ที่[[โคลมาร์]]ใน[[ประเทศฝรั่งเศส]]


บรรทัด 25: บรรทัด 25:


==แหล่งข้อมูลอื่น==
==แหล่งข้อมูลอื่น==
*''[[Mathis der Maler (symphony)|Mathis der Maler]]'', the [[1934]] [[symphony]] by [[Hindemith]] whose three movements correspond to three views of the Isenheim Altarpiece.
* ''[[Mathis der Maler (symphony)|Mathis der Maler]]'', the [[1934]] [[symphony]] by [[Hindemith]] whose three movements correspond to three views of the Isenheim Altarpiece.
*[http://www.stanleymeisler.com/smithsonian/smithsonian-1999-09-grunewald.html Article in the ''Smithsonian Magazine'']
* [http://www.stanleymeisler.com/smithsonian/smithsonian-1999-09-grunewald.html Article in the ''Smithsonian Magazine'']
*[http://www.ibiblio.org/eldritch/jkh/grunewald.html Two appreciations by Joris Carl Huysmans]
* [http://www.ibiblio.org/eldritch/jkh/grunewald.html Two appreciations by Joris Carl Huysmans]
{{commonscat|Isenheim Altarpiece}}
{{commonscat|Isenheim Altarpiece}}
*[http://findarticles.com/p/articles/mi_m0MDO/is_1_31/ai_114050791/pg_1 ''Encounter with Grunewald'', in ''Currents in Theology and Mission'', Feb, 2004, by Roy A. Harrisville - Useful summary of the history of the reception of the painting]
* [http://findarticles.com/p/articles/mi_m0MDO/is_1_31/ai_114050791/pg_1 ''Encounter with Grunewald'', in ''Currents in Theology and Mission'', Feb, 2004, by Roy A. Harrisville - Useful summary of the history of the reception of the painting]


{{จิตรกรรมตะวันตก}}
{{จิตรกรรมตะวันตก}}
{{เรียงลำดับ|ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์}}
{{เรียงลำดับ|ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์}}

[[หมวดหมู่:แม็ทไทอัส กรึนวอลด์]]
[[หมวดหมู่:แม็ทไทอัส กรึนวอลด์]]
[[หมวดหมู่:จิตรกรรมในคริสต์ทศวรรษ 1510]]
[[หมวดหมู่:จิตรกรรมในคริสต์ทศวรรษ 1510]]
บรรทัด 45: บรรทัด 46:
[[fr:Retable d'Issenheim]]
[[fr:Retable d'Issenheim]]
[[hr:Isenheimski oltar]]
[[hr:Isenheimski oltar]]
[[hu:Isenheimi oltár]]
[[it:Altare di Issenheim]]
[[it:Altare di Issenheim]]
[[pt:Retábulo de Issenheim]]
[[pt:Retábulo de Issenheim]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:29, 27 มีนาคม 2553

ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์
ศิลปินแม็ทไทอัส กรึนวอลด์
ปีค.ศ. 1512 - ค.ศ. 1516
ประเภทฉากแท่นบูชา
สถานที่พิพิธภัณฑ์อุนเทอร์ลินเดน, โคลมาร์
ไฟล์:Grunewald Isenheim3.jpg
มุมที่สาม

ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์ (อังกฤษ: Isenheim Altarpiece) เป็นฉากแท่นบูชาที่เขียนโดยแม็ทไทอัส กรึนวอลด์จิตรกรคนสำคัญชาวเยอรมันของสมัยเรอเนซองส์ ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์อุนเทอร์ลินเดนที่โคลมาร์ในประเทศฝรั่งเศส

“ฉากแท่นบูชาอิเซนไฮม์” ที่เขียนโดยแม็ทไทอัส กรึนวอลด์ระหว่างปี ค.ศ. 1512 ถึงปี ค.ศ. 1516 เป็นงานชิ้นที่ใหญ่ที่สุดและชิ้นเอกของกรึนวอลด์ที่เขียนสำหรับสำนักสงฆ์เซนต์แอนโทนีในอิเซนไฮม์ไม่ไกลจากโคลมาร์ ซึ่งเป็นสำนักสงฆ์ที่มีชื่อในการบำบัดโรคภัย นักบวชนิกายอันโตนินของสำนักสงฆ์มีชื่อเสียงในการรักษาผู้ป่วยด้วยโรคผิวหนังเช่น ergotism ที่อาการปรากฏในภาพเขียน

องค์ประกอบ

ฉากแท่นบูชาประกอบด้วยปีกสองชุดที่แสดงได้สามมุม มุมแรกเป็นฉาก “การตรึงกางเขนของพระเยซู” ขนาบด้วยภาพนักบุญแอนโทนี แอ็บบ็อททางขวา และ นักบุญเซบาสเตียนทางซ้าย ฐานฉากแท่นบูชาเป็นภาพ “การบรรจุพระเยซู” ที่ยังคงเห็นในมุมมองที่สอง เมื่อเปิดปีกใหญ่สุดด้านนอกออกเป็นมุมมองที่สองก็จะเป็นภาพ “การประกาศของเทพ”, และพระแม่มารี “อาบน้ำให้พระเยซูพร้อมด้วยกลุ่มเทวดาขับเพลง” และ “พระเยซูคืนชีพ” มุมมองในสุดเป็นภาพ “การล่อใจนักบุญแอนโทนี” และภาพ “การพบปะระหว่างนักบุญแอนโทนีและนักพรตพอล” และงานแกะฉากแท่นบูชาดั้งเดิมบนไม้ปิดทองโดยนิโคลัส ฮาเกอเนาจากราว ค.ศ. 1490 ในปัจจุบันฉากแท่นบูชาถูกแบ่งเป็นชั้นๆ ซึ่งทำให้แต่ละชิ้นแยกจากกันซึ่งทำให้มองเห็นภาพได้ทุกภาพ นอกไปจากฉากแท่นบูชาเดิมที่มิได้มีภาพขนาบในมุมมองที่สาม งานสลักไม้ตอนบนและตอนล่างของฉากถูกทำลายไประหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส

อ้างอิง

  • Snyder, James, Northern Renaissance Art. Prentice Hall, Inc., and Harry N. Abrams, Inc., 1985. ISBN 0-8109-1081-0

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น