ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซอฟต์แวร์เฟรมเวิร์ก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ar, da, fa, id, ja, zh แก้ไข: ru
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ta:மென்பொருள் சட்டகம்
บรรทัด 34: บรรทัด 34:
[[ru:Фреймворк]]
[[ru:Фреймворк]]
[[simple:Framework]]
[[simple:Framework]]
[[ta:மென்பொருள் சட்டகம்]]
[[uk:Фреймворк]]
[[uk:Фреймворк]]
[[zh:框架]]
[[zh:框架]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:01, 9 มีนาคม 2553

เฟรมเวิร์ก (framework) หรือ โครงร่างซอฟต์แวร์ เป็นรูปแบบที่นำกลับมาใช้ใหม่ได้สำหรับระบบซอฟต์แวร์ (หรือระบบย่อย) ซึ่งสามารถอยู่ในรูปของคลาสนามธรรม (Abstract class) และกับวิธีในการใช้ตัวตน (instance) ของคลาสร่วมกันจำเพาะสำหรับซอฟต์แวร์ชนิดใดชนิดหนึ่ง โครงร่างซอฟต์แวร์ทุกโครงร่างใช้การออกแบบเชิงวัตถุ โปรแกรมของโครงร่างซอฟต์แวร์มักจะเป็นโปรแกรมเชิงวัตถุ อย่างไรก็ตามโปรแกรมที่เขียนขึ้นตามการออกแบบไม่จำเป็นต้องเป็นโปรแกรมเชิงวัตถุ

ยกตัวอย่างเช่น โครงร่างซอฟต์แวร์สามารถช่วยให้สร้างโปรแกรมบรรณาธิกรณ์กราฟิก ที่แตกต่างกันได้หลายประเภท เช่น การวาดภาพศิลป์ การประพันธ์ดนตรี และการออกแบบเครื่องกลโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย (แคด)

อ้างอิง

  • Gachet, A. (2003) "Software Frameworks for Developing Decision Support Systems - A New Component in the Classification of DSS Development Tools", Journal of Decision Systems 12(3/4): 271-281.