ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสลายให้อนุภาคแอลฟา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{ฟิสิกส์นิวเคลียร์}} thumb|left|การสลายให้อนุภาคแอลฟา'''การส...
 
Jo Shigeru (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 36: บรรทัด 36:
== แหล่งข้อมูลอื่น==
== แหล่งข้อมูลอื่น==
* [[Image:Ndslivechart.png]] '''[http://www-nds.iaea.org/livechart The LIVEChart of Nuclides - IAEA ]''' with filter on alpha decay, in '''[http://www-nds.iaea.org/livechart Java ]''' or '''[http://www-nds.iaea.org/relnsd/vcharthtml/VChartHTML.html HTML]'''
* [[Image:Ndslivechart.png]] '''[http://www-nds.iaea.org/livechart The LIVEChart of Nuclides - IAEA ]''' with filter on alpha decay, in '''[http://www-nds.iaea.org/livechart Java ]''' or '''[http://www-nds.iaea.org/relnsd/vcharthtml/VChartHTML.html HTML]'''

{{โครงฟิสิกส์}}


[[หมวดหมู่:ฟิสิกส์นิวเคลียร์]]
[[หมวดหมู่:ฟิสิกส์นิวเคลียร์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:34, 25 กุมภาพันธ์ 2553

การสลายให้กัมมันตรังสี
การสลายให้กัมมันตรังสี
การแบ่งแยกนิวเคลียสฟิชชัน
การสลายให้อนุภาคแอลฟา

การสลายให้อนุภาคแอลฟา (อังกฤษ: Alpha decay) เป็นรูปแบบหนึ่งของการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีซึ่งนิวเคลียสอะตอมจะปลดปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมา ดังนั้นจึงเปลี่ยนสภาพ (หรือ 'สลาย') อะตอมโดยสูญเสียเลขมวล 4 และเลขอะตอม 2 เช่น:

[1]

หรือเขียนเป็น:

อนุภาคแอลฟาคล้ายกับนิวเคลียสฮีเลียม-4 ที่มีเลขมวลและเลขอะตอมเท่ากัน


ฮีเลียมส่วนมากบนโลก (ประมาณ 99%) เป็นผลมาจากการสลายให้อนุภาคแอลฟาของแร่ที่ทับถมกันอยู่ใต้ดิน แร่ที่ประกอบไปด้วยยูเรเนียมหรือทอเรียม ฮีเลียมถูกนำขึ้นสู่ผิวโลกโดยเป็นผลิตภัณฑ์ที่เหลือของการผลิตก๊าซธรรมชาติ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Suchocki, John. Conceptual Chemistry, 2007. Page 119.

แหล่งข้อมูลอื่น